พรมอัพไซเคิลจากขยะพลาสติก

รศ.ดร.สิงห์ อินทรชูโต
ภาควิชานวัตกรรมอาคาร คณะสถาปัตยกรรมศาสตร์
มหาวิทยาลัยเกษตรศาสตร์ โทร.0-2942-8960 ต่อ 305

Read more

เครื่องต้นแบบขูดใบสับปะรดแบบอัตโนมัติเพื่อเพิ่มกำลังการผลิตเส้นใย

อาจารย์ ณัฐดนย์ รุ่งเรืองกิจไกร
ภาควิชาวิทยาการสิ่งทอ คณะอุตสาหกรรมเกษตร
มหาวิทยาลัยเกษตรศาสตร์
โทร. 0-2562-5063 E-mail: fagitdr@ku.ac.th

Read more

ผลิตภัณฑ์เนื้อเทียมความชื้นสูง

ดร.หทัยชนก กันตรง
ฝ่ายกระบวนการผลิตและแปรรูป
สถาบันค้นคว้าและพัฒนาผลิตภัณฑ์อาหาร
โทร.0-2942-8629-35 ต่อ1620

Read more

เครื่องต้นแบบขูดใบสับปะรดแบบอัตโนมัติ เพื่อเพิ่มกำลังการผลิตเส้นใย

อาจารย์ ณัฐดนย์ รุ่งเรืองกิจไกร
ภาควิชาวิทยาการสิ่งทอ คณะอุตสาหกรรมเกษตร
มหาวิทยาลัยเกษตรศาสตร์
โทร. 0-2562-5063 E-mail: fagitdr@ku.ac.th

Read more

นวัตกรรมเส้นใยเชิงประกอบชีวภาพขั้นสูงจากพอลิแลคติกแอซิดและกากใบชาสำหรับสิ่งทอสีเขียว

รศ.ดร.อภิรัตน์ เลาห์บุตรีภาควิชาวิศวกรรมวัสดุ คณะวิศวกรรมศาสตร์โทรศัพท์ 0-2942-8555 ต่อ 2132

Read more

แผ่นฉนวนกันความร้อนจากเส้นใยและน้ำยางพาราธรรมชาติ

แผ่นฉนวนกันความร้อนจากเส้นใยและน้ำยางพาราธรรมชาติ โดยการใช้น้ำยางพาราเป็นตัวประสานกับเส้นใยให้ยึดเกาะกัน เส้นใยธรรมชาติที่จะนำมาใช้ในการวิจัยครั้งนี้จะใช้เส้นใยจากไม้ยางพารา ซึ่งเป็นไม้เศรษฐกิจของประเทศที่มีการปลูกกันมากทั่วทุกภาค วัตถุดิบทั้งสองเป็นวัตถุดิบต้นน้ำที่มีมาก และมีศักยภาพในการนำมาผลิตแผ่นฉนวนกันความร้อน เป็นการใช้วัตถุดิบภายในประเทศ เพื่อเพิ่มมูลค่าให้กับน้ำยางพาราเป็นการช่วยเกษตรกรชาวสวนยางพาราที่ได้รับผลกระทบจากราคาน้ำยางที่ต่ำลงทุกวัน และเป็นแนวทาง ทางเลือกในการตัดสินใจนำไม้ยางพาราและน้ำยางพาราธรรมชาติมาใช้ในอุตสาหกรรมเพื่อการผลิตผลิตภัณฑ์ในรูปแบบใหม่ ๆ ให้ผู้บริโภคสามารถเลือกใช้ประโยชน์ในงานก่อสร้าง ใช้เป็นฉนวนกันความร้อนช่วยลดพลังงานไฟฟ้า ลดภาวะโลกร้อน ซึ่งจะเป็นการเพิ่มมูลค่าและเป็นการส่งเสริมการใช้น้ำยางพาราภายในประเทศ สอบถามได้ที่ รศ.ทรงกลด จารุสมบัติ ภาควิชาวนผลิตภัณฑ์ คณะวนศาสตร์ มหาวิทยาลัยเกษตรศาสตร์ โทร. 08-1914-0575

Read more

เส้นใยธรรมชาติจากกาบไผ่

ดร.ศศิประภา รัตนดิลก ณ ภูเก็ต อจารย์ประจำภาควิชาคหกรรมศาสตร์ คณะเกษตร มหาวิทยาลัยเกษตรศาสตร์ จึงทำการศึกษาการผลิตเส้นใยและด้ายธรรมชาติจากกาบไผ่ โดยเน้นการใช้วิธีการที่ไม่ซับซ้อน ใช้อุปกรณ์และสารเคมีที่หาได้ง่าย ราคาไม่สูงมาก เพื่อเป็นการเพิ่มมูลค่าให้กับกาบไผ่ซึ่งเป็นวัสดุเหลือทิ้งทางการเกษตร และยังเป็นการพัฒนาการผลิตเส้นใยธรรมชาติที่เป็นมิตรกับสิ่งแวดล้อมอีกด้วย

Read more

สัมภาษณ์ ดร.รังสิมา ชลคุป ได้รับรางวัล”ทุนช่วยเหลือทางด้านวิจัยวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี” สาขาเกษตรศาสตร์และชีววิทยา จากมูลนิธิโทเร

ดร.รังสิมา ชลคุป ได้รับรางวัล”ทุนช่วยเหลือทางด้านวิจัยวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี” สาขาเกษตรศาสตร์และชีววิทยา จากมูลนิธิโทเร

Read more