เตาย่างกึ่งอบอัจฉริยะรุ่น RG14
ผศ. ปัญญา เหล่าอนันต์ธนา และ นาย ธนัตถ์ ศรีสุขสันต์ ภาควิชาไฟฟ้า คณะวิศวกรรมศาสตร์ มหาวิทยาลัยเกษตรศาสตร์โทร.081 927-0098, 083-030-6609 E-mail: kucity.com@gmail.com
Read moreผศ. ปัญญา เหล่าอนันต์ธนา และ นาย ธนัตถ์ ศรีสุขสันต์ ภาควิชาไฟฟ้า คณะวิศวกรรมศาสตร์ มหาวิทยาลัยเกษตรศาสตร์โทร.081 927-0098, 083-030-6609 E-mail: kucity.com@gmail.com
Read moreรศ. ดร.จินดาววรรณ สิรันทวิเนติ และคณะภาควิชาสัตววิทยา คณะวิทยาศาสตร์ มหาวิทยาลัยเกษตรศาสตร์โทร. 02-562-5555 ต่อ 647824 E-mail: fscijws@ku.ac.thอ
Read moreไก่ดำนิลเกษตร (ศาสตร์) เป็นไก่พื้นเมืองที่ได้รับการพัฒนาสายพันธุ์ตั้งแต่ปี พ.ศ. 2559 โดยใช้พันธุกรรมจากไก่ดำมองโกเลียและไก่ดำเพชรบูรณ์เป็นพันธุ์เริ่มต้น ดำเนินจับคู่ผสมพันธุ์ ณ สถานีวิจัยและพัฒนาอาชีพแก่เกษตรกร คณะเกษตร ตำบลเพนียด อำเภอโคกสำโรง จังหวัดลพบุรี สายพันธุ์ที่พัฒนาขึ้นแบ่งเป็น 2 กลุ่มสีขนที่มีลักษณะเด่น ได้แก่ ไก่ดำนิลเกษตร (ศาสตร์) ขนสีดำ:
Read moreรศ.ดร.นันทิยา หาญศุภลักษณ์1 รศ.ดร. เกียรติทวี ชูวงศ์โกมล2 และ ผศ.ดร. วิมลรัตน์ อินศวร31ภาควิชาวิศวกรรมเคมี คณะวิศวกรรมศาสตร์ มหาวิทยาลัยเกษตรศาสตร์2ภาควิชาชีวเคมี คณะวิทยาศาสตร์ มหาวิทยาลัยเกษตรศาสตร์ 3ภาควิชาเทคนิคการสัตวแพทย์ คณะเทคนิคการสัตวแพทย์ มหาวิทยาลัยเกษตรศาสตร์ โทร. 086-525-5606 E-mail: nanthiya.h@ku.ac.th
Read moreผศ.ดร.อนงค์ภัทร สุทธางคกูล และคณะภาควิชาพันธุศาสตร์ คณะวิทยาศาสตร์มหาวิทยาลัยเกษตรศาสตร์ โทร. 093-565-1415 E-mail: anongpat.s@ku.th
Read moreภายใต้การดำเนินงานวิจัย เรื่อง โครงการวิจัยและพัฒนาเพื่อดำรงสภาพและเพิ่มประสิทธิภาพยุทโธปกรณ์การพัฒนาระบบควบคุมแบบปิดของเซอร์โวมอเตอร์เพื่อทดแทนมอเตอร์ไฮดรอลิค กรณีศึกษา : ระบบควบคุมการเคลื่อนที่ของมุมทางสูงและทางทิศของปืนใหญ่ต่อสู้อากาศยาน ขนาด 40 มิลลิเมตร แอล 70 ได้รับการสนับสนุนทุนอุดหนุนวิจัยมหาวิทยาลัยจากแหล่งทุนวิจัยภายนอก โดย บริษัท อาร์มี่ ซัพพลาย จำกัด ผลงานวิจัยถูกพัฒนาขึ้นภายใต้การบริหารจัดการโครงการวิจัย โดย ผู้ช่วยศาสตราจารย์
Read moreผศ.ปัญญา เหล่าอนันต์ธนา และ นายธนัตถ์ ศรีสุขสันต์
ภาควิชาวิศวกรรมไฟฟ้า คณะวิศวกรรมศาสตร์
มหาวิทยาลัยเกษตรศาสตร์
โทร. 081-927-0098 E-mail: fengpyl@ku.ac.th
รศ.ดร.ชัชรี แก้วสุรลิขิต
ภาควิชาชีววิทยาประมง คณะประมง มหาวิทยาลัยเกษตรศาสตร์
โทร. 084-656-3654 E-mail: chatcharee.s@ku.ac.th
ประเทศไทยเป็นหนึ่งในผู้ผลิตมันสำปะหลังรายใหญ่ของโลก แต่ส่วนใหญ่ของผลิตภัณฑ์มันสำปะหลังถูกส่งออกในรูปแบบวัตถุดิบราคาถูก เช่น แป้งมัน เพื่อการใช้งานในอุตสาหกรรมอาหารเท่านั้น การวิจัยนี้จึงมุ่งเน้นการเพิ่มมูลค่าให้กับมันสำปะหลัง โดยพัฒนาผลิตภัณฑ์พลาสติกชีวภาพที่สามารถตอบสนองความต้องการในอุตสาหกรรมต่างๆ ได้อย่างยั่งยืน จุดเด่นของการพัฒนาครั้งนี้คือการใช้แป้งมันสำปะหลังในสัดส่วนสูงถึง 70% ในการผลิตฟิล์มพลาสติก โดยยังคงความคงตัวของวัสดุ และมีคุณสมบัติเหมาะสมสำหรับการใช้งานเป็นวัสดุบรรจุภัณฑ์สัมผัสอาหาร โดยไม่มีการใช้สารเคมีอันตราย นอกจากนี้ ฟิล์มที่พัฒนายังสามารถใช้งานในระบบบรรจุสูญญากาศ ซึ่งเหมาะกับอุตสาหกรรมอาหาร กระบวนการผลิตพลาสติกชีวภาพจากแป้งมันสำปะหลัง เริ่มจากการผสมแป้งมันสำปะหลังกับสารพลาสติไซเซอร์และสารเติมแต่ง เพื่อช่วยให้แป้งมีคุณสมบัติพลาสติกและขึ้นรูปได้ดี
Read moreรศ.ดร.บุญเสฐียร บุญสูง
ภาควิชาสัตววิทยา คณะวิทยาศาสตร์ มหาวิทยาลัยเกษตรศาสตร์
โทร. 0-2562-5555 ต่อ 647829 E-mail: fscibtb@ku.ac.th