สารสกัดจากกลีบเลี้ยงกระเจี๊ยบเฉดสีต่างๆ

นางสาวภคพร สาทลาลัย นักวิจัยจากฝ่ายปฏิบัติการวิจัยและเรือนปลูกพืชทดลอง และนางอุทัยวรรณ ด้วงเงิน เจ้าหน้าที่วิจัย จากศูนย์วิจัยและพัฒนาพืชผักเขตร้อน คณะเกษตร กำแพงแสน มหาวิทยาลัยเกษตรศาสตร์ วิทยาเขตกำแพงแสน ได้ทำการศึกษาองค์ประกอบทางเคมีของสารสกัดจากกลีบเลี้ยงกระเจี๊ยบแดงแต่ละเฉดสีตั้งแต่ สีแดงเข้ม สีแดง สีชมพู ไปจนถึงสีขาว เปรียบเทียบฤทธิ์ทางชีวภาพของสารสกัดจากกลีบเลี้ยงกระเจี๊ยบแดงเฉดสีต่างๆ ทดสอบประสิทธิภาพของสารสกัดจากกลีบเลี้ยงแต่ละเฉดสีในการยับยั้งการเจริญและการสร้างสารพิษอะฟลาทอกซินของเชื้อรา Aspergillus spp. ในระดับห้องปฏิบัติการ

Read more

ไส้เดือนสีน้ำเงิน Blue worm โดย รศ.ดร. สมชัย จันทร์สว่าง

ไส้เดือนสีน้ำเงิน Blue worm เป็นไส้เดือนที่มีความสามารถในการขยายพันธุ์เร็ว ในการกำจัดขยะอินทรีย์ ผลิตปุ๋ยหมัก และนำไปผลิตเป็นวัตถุดิบในอาหารสัตว์น้ำ เพราะเป็นไส้เดือนที่เลี้ยงง่าย มีลักษณะลำตัวผอม ยาว ลำตัวจะมีสีม่วงเข้ม บางส่วนมองเห็นเป็นประกายสีน้ำเงิน เหมาะสำหรับเลี้ยงปลาสวยงาม ซึ่งไส้เดือนสีน้ำเงินยังมีคุณสมบัติพิเศษ มีกลิ่นหอมคล้ายดอกโมกเมื่อจับตัวเอามาไว้ในมือ จะขับกลิ่นดอกโมก ออกมาจากตัวด้วยสัญชาตญาณ และมีฤทธิ์ในการกำจัดเชื้อราที่ผลิตสารพิษอะฟลาทอกซิน ซึ่งเป็นสารก่อมะเร็ง ติดต่อสอบถามได้ที่ รศ.ดร. สมชัย จันทร์สว่าง ภาควิชาสัตวบาล คณะเกษตร มหาวิทยาลัยเกษตรศาสตร์ โทร.08-1867-0907

Read more

รางวัลสภาวิจัยแห่งชาติ : รางวัลผลงานประดิษฐ์คิดค้น ประจำปี 2556 (ระดับดี)

ด้านเกษตรศาสตร์และอุตสาหกรรมเกษตร (ระดับดี สาขาเกษตรศาสตร์และชีววิทยา) ผลงานเรื่อง : KU-AF2 : คอลัมน์สำหรับขจัดสิ่งรบกวนสำหรับการวิเคราะห์อะฟลาทอกซิน คณะผู้วิจัย 1.ผศ.ดร.วราภา มหากาญจนกุล (คณะอุตสาหกรรมเกษตร ภาควิชาวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยีการอาหาร) 2.ผศ.ดร.รัชนี ฮงประยูร (คณะเกษตร กพส. ภาควิชาโรคพืช ) 3.นางสุวรรณา

Read more