สารออกฤทธิ์ลดคอเลสเตอรอลและต้านอนุมูลอิสระมูลค่าสูงจากธรรมชาติ โดย นางสาวประภัสสร รักถาวร สถาบันค้นคว้าและพัฒนาผลผลิตทางการเกษตรและอุตสาหกรรมเกษตร

ผลงานวิจัยได้รางวัลที่สร้างผลกระทบมหาวิทยาลัยเกษตรศาสตร์ ประจำปี 2564 (ระดับ Silver ผลงานวิจัยที่สร้างผลกระทบระดับสูง) จัดโดย สถาบันวิจัยและพัฒนาแห่งมหาวิทยาลัยเกษตรศาสตร์ “สารออกฤทธิ์ลดคอเลสเตอรอลและต้านอนุมูลอิสระมูลค่าสูงจากธรรมชาติเพื่อผลิตภัณฑ์เสริมสุขภาพ” โดย นางสาวประภัสสร รักถาวร นางสาวอุดมลักษณ์ สุขอัตตะ นางสาวเกสรี กลิ่นสุคนธ์ นางสาวลลิตา คชารัตน์ นางสาวสุริสา สากยโรจน์

Read more

ระบบการบริหารจัดการอ่างเก็บน้ำ โดย รศ.ดร.จารุมาศ เมฆสัมพันธ์ มหาวิทยาลัยเกษตรศาสตร์

ผลงานวิจัยได้รางวัลที่สร้างผลกระทบมหาวิทยาลัยเกษตรศาสตร์ ประจำปี 2564 (ระดับ Silver ผลงานวิจัยที่สร้างผลกระทบระดับสูง) จัดโดย สถาบันวิจัยและพัฒนาแห่งมหาวิทยาลัยเกษตรศาสตร์ “ระบบการบริหารจัดการอ่างเก็บน้ำ เพื่อการอนุรักษ์ทรัพยากรและการใช้ประโยชน์จากแหล่งน้ำอย่างยั่งยืน” โดย รองศาสตราจารย์จารุมาศ เมฆสัมพันธ์ และคณะทำงาน จากคณะประมง มหาวิทยาลัยเกษตรศาสตร์

Read more

ตู้ตรวจความดันบวก โดย รศ.ดร.วีรชัย ชัยวรพฤกษ์ มหาวิทยาลัยเกษตรศาสตร์

ผลงานวิจัยได้รางวัลที่สร้างผลกระทบมหาวิทยาลัยเกษตรศาสตร์ ประจำปี 2564 (ระดับ Gold ผลงานวิจัยที่สร้างผลกระทบระดับสูงมาก) จัดโดย สถาบันวิจัยและพัฒนาแห่งมหาวิทยาลัยเกษตรศาสตร์  “ตู้ตรวจความดันบวกเพื่อเก็บสิ่งส่งตรวจ” โดย รองศาสตราจารย์วีรชัย ชัยวรพฤกษ์ คณะวิศวกรรมศาสตร์ มหาวิทยาลัยเกษตรศาสตร์

Read more

การจัดการพื้นที่เขตกันชนเขตรักษาพันธุ์สัตว์ป่า EP.1 โดย ผศ.ดร.นันทชัย พงศ์พัฒนานุรักษ์ มหาวิทยาลัยเกษตรศาสตร์

  โครงการวิจัย การจัดการถิ่นที่อาศัยสัตว์ป่ากินพืชขนาดใหญ่ในประเทศไทย: การพัฒนาแปลงพืชอาหารสัตว์ป่า ในพื้นที่กันชนมรดกโลกห้วยขาแข้ง จังหวัดอุทัยธานี สนับสนุนงบประมาณการวิจัยโดยโครงการพัฒนาแห่งสหประชาชาติ (UNDP) United Nations Development Programme – UNDP งานวิจัยเพื่อพัฒนาและส่งเสริมนโยบายของรัฐในการจัดการพื้นที่กันชน ณ พื้นที่เตรียมการกำหนดเป็นเขตห้ามล่าสัตว์ป่าห้วยทับเสลา-ห้วยระบำ จังหวัดอุทัยธานี สนับสนุนงบประมาณการวิจัยโดย สำนักงานพัฒนาวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยีแห่งชาติ

Read more

KU Casing ไส้บรรจุชนิดคอลลาเจน โดย ผศ.ดร.จิตศิริ ราชตนะพันธุ์ มหาวิทยาลัยเกษตรศาสตร์

KU Casing ไส้บรรจุชนิดคอลลาเจน เป็นไส้บรรจุชนิดคอลลาเจนไว้สำหรับบรรจุไส้กรอกมีคุณสมบัติในการยับยั้งเชื้อจุลินทรีย์ที่ทำให้อาหารเน่าเสีย ผลงานวิจัยโดย ผู้ช่วยศาสตราจารย์ ดร.จิตศิริ ราชตนะพันธุ์ ภาควิชาวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยีการอาหาร คณะอุตสาหกรรมเกษตร มหาวิทยาลัยเกษตรศาสตร์ E-mail : chitsiri.t@ku.ac.th หรือ fagicrt@ku.ac.th Tel.025625020 ต่อ 5152

Read more

การสังเคราะห์อนุภาคซิลเวอร์นาโน เพื่อการยับยั้งเชื้อจุลินทรีย์ โดย นางสาวประภัสสร รักถาวร สถาบันค้นคว้าและพัฒนาผลิตผลทางการเกษตรและอุตสาหกรรมเกษตร มหาวิทยาลัยเกษตรศาสตร์

การสังเคราะห์อนุภาคซิลเวอร์นาโน เพื่อการยับยั้งเชื้อจุลินทรีย์ โดยใช้กระบวนการสังเคราะห์แบบเทคโนโลยีสีเขียวที่สามารถใช้ในการยับยั้งเชื้อนาโนได้อย่างมีประสิทธิภาพและที่สำคัญมีความปลอดภัย เนื่องจากใช้พืชสมุนไพรของไทยเป็นตัวช่วยในการสังเคราะห์ ผลงานวิจัยโดย นางสาวประภัสสร รักถาวร สถาบันค้นคว้าและพัฒนาผลิตผลทางการเกษตรและอุตสาหกรรมเกษตร มหาวิทยาลัยเกษตรศาสตร์ โทร. 02-9428600-3 ต่อ 407 E-mail: aappsr@ku.ac.th

Read more

ยางรองรีดนม เพื่ออุตสาหกรรมโคนมไทย โดย ผศ.นสพ.ดร.สโรช แก้วมณี มหาวิทยาลัยเกษตรศาสตร์

ยางรองรีดนม เพื่ออุตสาหกรรมโคนมไทย ผลงานวิจัยโดย ผู้ช่วยศาสตราจารย์นายสัตวแพทย์ ดร.สโรช แก้วมณี ภาควิชาสัตวบาล คณะเกษตร มหาวิทยาลัยเกษตรศาสตร์   

Read more

มก. ค้นพบผีเสื้อชนิดใหม่ “ผีเสื้อบาลาและผีเสื้อจันทราปัตย์” โดย รศ.ดร.นันทศักดิ์ ปิ่นแก้วและนางสาวโสภิตา หมวดทรัพย์ มหาวิทยาลัยเกษตรศาสตร์ 

ค้นพบผีเสื้อชนิดใหม่ “ผีเสื้อบาลาและผีเสื้อจันทราปัตย์” โดย รศ.ดร.นันทศักดิ์ ปิ่นแก้ว และนางสาวโสภิตา หมวดทรัพย์ ภาควิชากีฏวิทยา คณะเกษตร กำแพงแสน มหาวิทยาลัยเกษตรศาสตร์   

Read more

มก. ค้นพบ “เพลี้ยลายบ้านเชียง เพลี้ยชนิดใหม่ของโลก” โดย รศ.ดร. นันทศักดิ์ ปิ่นแก้ว และนายกวินท์ เจียรไนสกุล 

การค้นพบ “เพลี้ยลายบ้านเชียง เพลี้ยชนิดใหม่ของโลก” ถูกค้นพบในป่ารกร้างภายในมหาวิทยาลัยเกษตรศาสตร์ วิทยาเขตกำแพงแสน มีลวดลาย สีสันที่โดดเด่นสะดุดตา คล้ายไหลายบ้านเชียง จึงเป็นที่มาของชื่อ “เพลี้ยลายบ้านเชียง” โดย รศ.ดร. นันทศักดิ์ ปิ่นแก้ว และนายกวินท์ เจียรไนสกุล ภาควิชากีฏวิทยา คณะเกษตร กำแพงแสน มหาวิทยาลัยเกษตรศาสตร์

Read more

การค้นพบ “ตั๊กแตนตำข้าวคอยาวเกษตรศาสตร์” โดย รศ.ดร.นันทศักดิ์ ปิ่นแก้วและนายธรณ์ธันย์ อุณหะโชติ มหาวิทยาลัยเกษตรศาสตร์

การค้นพบตั๊กแตนตำข้าวคอยาวเกษตรศาสตร์ในพื้นที่ป่ารกร้าง ด้านหลังของอุทยานแมลงเฉลิมพระเกียรติ 60 ปี มหาวิทยาลัยเกษตรศาสตร์ วิทยาเขตกำแพงแสน หัวหน้าโครงการโดย รศ.ดร. นันทศักดิ์ ปิ่นแก้ว ภาควิชากีฏวิทยา คณะเกษตร กำแพงแสน มหาวิทยาลัยเกษตรศาสตร์ วิทยาเขตกำแพงแสน ค้นพบโดย นายธรณ์ธันย์ อุณหะโชติ นิสิตภาควิชากีฏวิทยา คณะเกษตร

Read more