คณาจารย์ และนักวิจัยของมหาวิทยาลัยเกษตรศาสตร์ ที่ได้รับการตีพิมพ์และอ้างอิงสูงสุดใน Top 2% ของโลก

สวพ.มก. ขอแสดงความยินดีกับ คณาจารย์ และนักวิจัยของมหาวิทยาลัยเกษตรศาสตร์
ที่ได้รับการตีพิมพ์และอ้างอิงสูงสุดใน Top 2% ของโลก

Read more

ฟิล์มบรรจุภัณฑ์อาหารจากเลือดหมู

รศ.ดร.รังสินี โสธรวิทย์
ภาควิชาวิศวกรรมการอาหาร คณะวิศวกรรมศาสตร์ กำแพงแสน
มหาวิทยาลัยเกษตรศาสตร์ วิทยาเขตกำแพงแสน

Read more

ฟิล์มโปรตีนจากวัสดุเหลือทิ้งจากมะพร้าว

รศ.ดร. รังสินี โสธรวิทย์ และ น.ส.ภัทราทิพย์ รอดสำราญ
ภาควิชาวิศวกรรมการอาหาร คณะวิศวกรรมศาสตร์ กำแพงแสน
มหาวิทยาลัยเกษตรศาสตร์ วิทยาเขตกำแพงแสน
โทร. 0-2942-8010 ต่อ 3522 Fax: 034-428-1098
E-mail: fengrns@ku.ac.th

Read more

ฟิล์มโปรตีนจากวัสดุเหลือทิ้งจากมะพร้าว

ฟิล์มโปรตีน เป็นผลิตภัณฑ์ที่เกิดจากการนำกากมะพร้าวและน้ำมะพร้าวแก่ที่เป็นวัสดุเหลือทิ้งจากอุตสาหกรรมแปรรูปมะพร้าวโดยเฉพาะกากมะพร้าวยังมีโปรตีนสูงรวมทั้งไขมัน และคาร์โบไฮเดรต ส่วนน้ำมะพร้าวแก่สามารถนำมาสกัดสารต้านอนุมูลอิสระและนำมาใช้เสริมสมบัติของฟิล์มโปรตีนให้เป็นวัสดุบรรจุภัณฑ์แอคทีฟที่เป็นมิตรต่อสิ่งแวดล้อม ติดต่อสอบถามเพิ่มเติม รศ.ดร. รังสินี โสธรวิทย์ และ น.ส. ภัทราทิพย์ รอดสำราญ ภาควิชาวิศวกรรมการอาหาร คณะวิศวกรรมศาสตร์ กำแพงแสน มหาวิทยาลัยเกษตรศาสตร์  วิทยาเขตกำแพงแสน โทร. 02-579-0113 E-mail

Read more

ฟิล์มบรรจุภัณฑ์อาหารจากเลือดหมู

“สุกร” หรือ “หมู” เป็นสัตว์เศรษฐกิจที่สำคัญชนิดหนึ่งของประเทศเทศไทย ข้อมูลจากสมาคมผู้เลี้ยงสุกรแห่งชาติระบุว่า ในปี 2561 ประเทศไทยมีปริมาณการผลิตสุกร 19.88 ล้านตัว และปริมาณการบริโภคราว 1.45 ล้านตัน ส่งผลให้อุตสาหกรรมโรงฆ่าสัตว์มีปริมาณเลือดเป็นจำนวนมากที่ถูกทิ้งกลายเป็นมลภาวะต่อสิ่งแวดล้อม ในเลือดหมูมีส่วนประกอบที่เรียกว่า “พลาสมา (Plasma)”  มีโปรตีนสูง มีสมบัติด้านอิมัลชันที่ดี ไม่ทำให้สี

Read more

พลาสติกย่อยสลายได้จากแป้งกล้วย

พลาสติกย่อยสลายได้จากแป้งกล้วย โดยการนำวัสดุธรรมชาติภายในประเทศมาใช้เป็นวัสดุบรรจุภัณฑ์ที่เป็นมิตรต่อสิ่งแวดล้อม ซึ่งกล้วยน้ำว้าเป็นพืชที่รับประทานกันทั่วไป และเป็นพืชที่ปลูกง่ายในทุกภาคของประเทศ สามารถนำกล้วยน้ำว้าดิบมาผลิตเป็นแป้งกล้วย จึงเป็นการเพิ่มมูลค่าให้กับกล้วย โดยนำแป้งกล้วยดิบและแป้งกล้วยดัดแปรด้วยวิธีครอสลิงแบบไดสตาร์ชฟอสเฟต (cross-linking method with distarch method) และส่วนประกอบอื่น ได้แก่ พลาสติไซเซอร์ และเส้นใยกาบกล้วยมามาเสริมความแข็งแรง รวมทั้งการนำพอลิแลกติกแอซิด (polylactic acid, PLA) เข้ามาร่วมเพื่อผลิตเป็นฟิล์ม จะช่วยเพิ่มประสิทธิภาพการป้องกันการแพร่ผ่านของไอน้ำ และเสริมความแข็งแรงให้กับวัสดุบรรจุภัณฑ์ สามารถนำไปผลิตเป็นวัสดุบรรจุภัณฑ์สำหรับอาหาร และผักผลไม้ ทดแทนบรรจุภัณฑ์จากพลาสติกสังเคราะห์ได้ เนื่องจากเป็นบรรจุภัณฑ์จากธรรมชาติ ไม่ก่อให้เกิดมลพิษต่อสิ่งแวดล้อม และสามารถย่อยสลายได้เองทางชีวภาพ ติดต่อได้ที่ รศ.ดร. รังสินี โสธรวิทย์ และทีมวิจัยภาควิชาวิศวกรรมการอาหาร คณะวิศวกรรมศาสตร์ กำแพงแสน มหาวิทยาลัยเกษตรศาสตร์ วิทยาเขตกำแพงแสน

Read more

มหัศจรรย์ สารเคลือบผิวผลไม้จากสมุนไพรไทย

รศ.รังสินี โสธรวิทย์ ภาควิชาวิศวกรรมการอาหาร คณะวิศวกรรมศาสตร์ กำแพงแสน ได้มีการพัฒนาสารเคลือบผิวชนิดใหม่ที่มีสมบัติในการต้านเชื้อจุลินทรีย์สำหรับผลไม้ เพื่อรักษาคุณภาพและยืดอายุการเก็บรักษา

Read more