ชุดตรวจสอบไนโตรฟูแรนในสัตว์น้ำ Nitrofuran Detection Kit

ชุดตรวจสอบไนโตรฟูแรนในสัตว์น้ำ – ลดระยะเวลาในการตรวจสอบ – ได้ผลตรวจใกล้เคียงกับค่ามาตรฐานการปนเปื้อนที่ไม่อนุญาตให้นำเข้าและส่งออก – แบ่งเบาการวิเคราะห์สารตกค้างให้กับหน่วยงานภาครัฐ – ลดความเสียหายการถูกตีกลับของสินค้าที่ปนเปื้อน – มีราถูกและใช้งานง่าย ติดต่อสอบถามเพิ่มเติม ผศ.ดร.ศศิมนัส อุณจักร์ คณะวิทยาศาสต์ มหาวิทยาลัยเกษตรศาสตร์ โทร. 089-744-1466   Email :

Read more

ชุดตรวจสอบไนโตรฟูแรนในสัตว์น้ำ Nitrofuran Detection Kit

ผศ.ดร.ศศิมนัส อุณจักร์
ภาควิชาเคมี คณะวิทยาศาสตร์
มหาวิทยาลัยเกษตรศาสตร์

Read more

ชุดตรวจสอบหาสารพันธุกรรมไวรัสไข้หวัดนก

ด้วยเหตุนี้ ผศ.ดร.ปรีดา เลิศวัชระสารกุล จากภาควิชาพยาธิวิทยา คณะสัตวแพทยศาสตร์ มหาวิทยาลัยเกษตรศาสตร์ จึงได้ทำการพัฒนาเทคนิคการตรวจวินิจฉัยเชื้อไวรัสไข้หวัดนก สายพันธุ์ H5N1 ด้วยวิธีการที่ทำได้ง่าย ไม่ซับซ้อน ได้ผลวิเคราะห์ในเวลารวดเร็ว ไม่ต้องใช้เครื่องมือที่มีราคาแพงที่ต้องทำเฉพาะในห้องปฏิบัติการ

Read more

ชุดตรวจสอบกลูเตน โดย วิภา สุโรจนะเมธากุล

ชุดตรวจสอบกลูเตน เป็นชุดทดสอบสารก่อภูมิแพ้ เพื่อตรวจวิเคราะห์สารก่อภูมิแพ้ ด้วยเทคนิคอิไลซ่า (Enzyme linked immunosorbent assay: ELISA) เป็นวิธีการตรวจวิเคราะห์ที่ทำได้รวดเร็ว ซึ่งหลักการทำงานของชุดทดสอบนี้ จะใช้องค์ความรู้ด้านภูมิคุ้มกันวิทยาร่วมกับการทำงานของเอนไซม์เพื่อวิเคราะห์หาชนิดและปริมาณโปรตีนเป้าหมายในอาหารที่ก่อให้เกิดภูมิแพ้ โดยการทำปฏิกิริยาเฉพาะของแอนติเจนและแอนตีบอดี ชุดทดลองนี้มีคุณสมบัติใช้งานง่าย ไม่จำเป็นต้องทำให้ตัวอย่างมีความบริสุทธิ์สูง มีความเฉพาะเจาะจงสูง มีค่าความไวสูงโดยมีค่า Detection Limit (LOQ) 0.3 ppm ให้ผลวิเคราะห์รวดเร็วทั้งเชิงคุณภาพและปริมาณ สามารถวิเคราะห์ได้ทีละหลายตัวอย่างพร้อมกัน ใช้วิเคราะห์ปริมาณโปรตีนที่ก่อให้เกิดอาการแพ้ในวัตถุดิบอุปกรณ์เครื่องมือและน้ำล้างเครื่องมือผลิตภัณฑ์อาหารที่ผ่านการแปรรูป โดยชุดทดลองมีอายุการใช้งานประมาณ 1 ปี ในอุณหภูมิที่ 4-8 องศาเซลเซียส ติดต่อได้ที่ คุณวิภา สุโรจนะเมธากุล ฝ่ายเคมีและกายภาพอาหาร สถาบันค้นคว้าและพัฒนาผลิตภัณฑ์อาหาร โทร.0-2942-8629

Read more

ชุดตรวจสอบอินทรียวัตถุในดิน โดย ผศ.ดร.เสาวนุช ถาวรพฤกษ์

ชุดตรวจสอบอินทรียวัตถุในดิน ช่วยในเรื่องการตรวจและประเมินคุณภาพดิน เพื่อที่จะให้ปุ๋ยได้ในปริมาณที่ต้นพืชต้องการ ซึ่งหากเกษตรกรสามารถตรวจสอบคุณภาพดินได้เอง จะช่วยประหยัดเวลาและตรวจสอบดินของตน ได้ตามความต้องการ และนำผลวิเคราะห์มาปรับสภาพดินให้ตรงกับปัญหาและทันต่อเหตุการณ์ได้ ติดต่อสอบถามได้ที่ ผศ.ดร.เสาวนุช ถาวรพฤกษ์ ภาควิชาปฐพีวิทยา คณะเกษตร มหาวิทยาลัยเกษตรศาสตร์ โทร.0-2561-4670

Read more