1. การวิจัยและพัฒนาสมุนไพรขมิ้นชันแบบครบวงจรเพื่อสู่อุตสาหกรรม
    งามผ่อง คงคาทิพย์ และคณะ ภาควิชาเคมี คณะวิทยาศาสตร์
  2. หม่อนไหม : เทิดไท้องค์ราชัน
    อมรัตน์ พรหมบุญ และคณะ ภาควิชาชีวเคมี คณะวิทยาศาสตร์
  3. พิษไซยาไนด์ : อันตรายจริงหรือ?
    อมรัตน์ พรหมบุญ และคณะ ภาควิชาชีวเคมี คณะวิทยาศาสตร์
  4. อ้อยพันธุ์กำแพงแสน
    เรวัติ เลิศฤทัยโยธิน ศุนย์วิจัยและพัฒนาอ้อยและน้ำตาล สถาบันวิจัยและพัฒนา กำแพงแสน
    สถาบันวิจัยและพัฒนา กำแพงแสน
  5. การผลิตและการใช้ประโยชน์กวาวเครือขาวทางด้านการเกษตร
    สมโภชน์ ทับเจริญ และคณะื ศูนย์วิจัยและอบรมการเลี้ยงสุกรแห่งชาติ สถาบันสุวรรณวาจกกสิกิจฯ
  6. อโกลนีมา (aglaonema) : ไม้ประดับอนาคตไกล
    รงรอง หอมหวล และคณะ ฝ่ายปฏิบัติการวิจัยและเรือนปลูกพืชทดลอง สถาบันวิจัยและพัฒนา กำแพงแสน
  7. ผลของการปลดปล่อยไนโตรเจนจากมูลโคขุนและมูลโคเลี้ยงปล่อยต่อการเจริญเติบโตและผลผลิตของผักกาดเขียวกวางตุ้ง
    จันทร์จรัส วีสาร และคณะ
    ฝ่ายปฏิบัติการวิจัยและเรือนปลูกพืชทดลอง สถาบันวิจัยและพัฒนา กำแพงแสน
  8. ชีวภัณฑ์เชื้อราไตรโคเดอร์มาในรูปหัวเชื้อสด
    กณิษฐา สังคะหะืื และคณะ
    ฝ่ายปฏิบัติการวิจัยและเรือนปลูกพืชทดลอง สถาบันวิจัยและพัฒนา กำแพงแสน
  9. แก้วเจ้าจอมไม้พุ่มสวยและมีคุนค่าทางประวัติศาสตร์
    อุดม แก้วสุวรรณ และคณะ
    ฝ่ายปฏิบัติการวิจัยและเรือนปลูกพืชทดลอง สถาบันวิจัยและพัฒนา กำแพงแสน
  10. การถ่ายทอดเทคโนโลยีการทำสไลด์เนื้อเยื่อพืชสำหรับงานวิจัย
    เฟื่องฟ้า จันทนิยม และคณะ
    ฝ่ายปฏิบัติการวิจัยและเรือนปลูกพืชทดลอง สถาบันวิจัยและพัฒนา กำแพงแสน
  11. การขยายพันธุ์เฟิร์นปีกแมลงทับ : เฟิร์นชนิดใหม่ของโลกและหายาก
    มณฑา วงค์มณีโรจน์ และคณะ
    ฝ่ายปฏิบัติการวิจัยและเรือนปลูกพืชทดลอง สถาบันวิจัยและพัฒนา กำแพงแสน
  12. ธนาคารพันธุกรรมพืช 50 ปีแห่งการวิจัย มหาวิทยาลัยเกษตรศาสตร์
    ภาณี ทองพำนัก และคณะ
    ฝ่ายปฏิบัติการวิจัยและเรือนปลูกพืชทดลอง สถาบันวิจัยและพัฒนา กำแพงแสน
  13. คุณภาพเมล็ดพันธุ์พริกขณะปรับเปลี่ยนปัจจัยการผลิตและระบบนิเวศน์สู่เกษตรอินทรีย์
    ภาณี ทองพำนัก และคณะ
    ฝ่ายปฏิบัติการวิจัยและเรือนปลูกพืชทดลอง สถาบันวิจัยและพัฒนา กำแพงแสน
  14. พัฒนาคุณภาพผลผลิตพลับเพื่อการจำหน่ายในรูปแบบใหม่
    วรวิทย์ ยี่สวัสดิ์ สถาบันค้นคว้าและพัฒนาระบบนิเวศเกษตร
  15. คาลล่า ลิลลี่ : ทางเลือกใหม่ของเกษตรบนที่สูง
    บัวบาง ยะอุป สถาบันวิจัยดอยปุย สถาบันค้นคว้าและพัฒนาระบบนิเวศเกษตร
  16. "พลับ" ป่าไม้ผลชนิดหนึ่งบนที่สูงของจังหวัดเลย
    โอฬาร ตัณฑวิรุฬห์ ศูนย์วิจัยระบบนิเวศเกษตร สถาบันค้นคว้าและพัฒนาระบบนิเวศเกษตร
  17. พันธุ์ไม้ดอกจากการฉายรังสีแกมมา
    อรุณี วงศ์ปิยะสถิตย์ และคณะ
    ศูนย์บริการฉายรังสีแกมมาและวิจัยนิวเคลียร์เทคโนโลยี สถาบันวิจัยและพัฒนา
  18. การพัฒนาพันธุ์ขิงแดงด้วยเทคนิคการเพาะเลี้ยงเนื้อเยื่อร่วมกับการฉายรังสีแกมมา
    ศิริวรรณ บุรีคำ
    ศูนย์บริการฉายรังสีแกมมาและวิจัยนิวเคลียร์เทคโนโลยี สถาบันวิจัยและพัฒนา
  19. การเพาะเลี้ยงเนื้อเยื่อสบู่ดำ
    ศิริวรรณ บุรีคำ และคณะ
    ศูนย์บริการฉายรังสีแกมมาและวิจัยนิวเคลียร์เทคโนโลยี สถาบันวิจัยและพัฒนา
  20. เกร็ดความรู้เรื่องพลับ
    โอฬาร ตัณฑวิรุฬห์ และคณะ ศูนย์วิจัยระบบนิเวศเกษตร สถาบันค้นคว้าและพัฒนาระบบนิเวศเกษตร
  21. มะม่วงมหาชนกบนที่สูง
    โรจน์รวี ภิรมย์
    สถาบันค้นคว้าและพัฒนาระบบนิเวศเกษตร
  22. สบู่ดำพืชพลังงานทดแทน
    โรจน์รวี ภิรมย์ และคณะ
    สถาบันค้นคว้าและพัฒนา ระบบนิเวศเกษตร
  23. การผลิตองุ่นพันธุ์รับประทานสดภายใต้โครงหลังคาพลาสติก
    จรัล เห็นพิทักษ์  และคณะ
    สถานีวิจัยกาญจนบุรี สถาบันค้นคว้าและพัฒนาระบบนิเวศเกษตร
  24. เทคโนโลยีการผลิต : มะพร้าวน้ำหอม กลายพันธุ์จริงหรือ?
    กิตติพงศ์ ตรีตรุยานนท์ และคณะ สถาบันค้นคว้าและพัฒนาระบบนิเวศเกษตร
  25. สภาวะโลกร้อนต่อระบบนิเวศเกษตร
    พูลศิริ ชูชีพ และนวลปรางค์ ไชยตะขบ
    สถาบันค้นคว้าและพัฒนาระบบนิเวศเกษตร
  26. ผลของระยะปลูกที่มีต่อผลผลิตเมล็ดกระเจี๊ยบแดงพันธุ์กลีบยาว
    องอาจ หาญชาญเลิศ และคณะ
    สถานีวิจัยปากช่อง สถาบันอินทรีจันทร์สถิตย์ฯ
  27. กล้วย อาหารกาย - อาหารใจ
    พินิจ กรินท์ธัญญกิจ และคณะ
    สถานีวิจัยปากช่อง สถาบันอินทรีจันทร์สถิตย์ฯ
  28. มะละกอลูกผสม "ปากช่อง 2"
    รักเกียรติ ชอบเกื้อ และคณะ
    สถานีวิจัยปากช่อง สถาบันอินทรีจันทร์สถิตย์ฯ
  29. การศึกษาการปลูกหญ้าแฝก 3 สายพันธุ์ในแปลงไม้ผลบางชนิดและถ่ายทอดเทคโนโลยีสู่เกษตรกร
    รักเกียรติ ชอบเกื้อ และคณะ
    สถานีวิจัยปากช่อง สถาบันอินทรีจันทร์สถิตย์ฯ
  30. การวิจัยและพัฒนาสบู่ดำเพื่อพลังงานทดแทนแบบบูรณาการและยั่งยืน
    สมบัติ ชิณะวงศ์ และคณะ ภาควิชาพืชสวน คณะเกษตร กำแพงแสน
  31. พืชพันธุ์ใหม่ พืชพันธุ์ดี
    1. การสร้างอาชีพการผลิตผักที่มีคุณภาพและปลอดภัยเพื่อการบริโภคและการส่งออก
      ปราโมทย์ สฤษดิ์นิรันดร์ และคณะ ภาควิชาพืชสวน คณะเกษตร กำแพงแสน
    2. การศึกษาลักษณะทางพันธุกรรมที่สำคัญของฝรั่งเพื่อการปรับปรุงพันธุ์
      อุณารุจ บุญประกอบ และคณะ ภาควิชาพืชสวน คณะเกษตร กำแแสน
  32. การพัฒนาเพิ่มผลผลิตและปริมาณสารแลคโตนของฟ้าทะลายโจร 3 พันธุ์ เพื่อใช้ในปศุสัตว์แบบยั่งยืนในเขตจังหวัดสระบุรี
    ยิ่งยง ไพสุขศานติวัฒนา และคณะ คณะเกษตร กำแพงแสน มหาวิทยาลัยเกษตรศาสตร์
  33. หม่อน ( Mulberry ) : พืชมากประโยชน์
    อุไรวรรณ นิลเพ็ชร์ ภาควิชากีฏวิทยา คณะเกษตร กำแพงแสน
  34. ไตรโคเดอร์มา : เชื้อรามหัศจรรย์สำหรับใช้ควบคุมโรคพืช
    จิระเ้ดช แจ่มสว่าง และคณะ ภาควิชาโรคพืช คณะเกษตร กำแพงแสน
  35. คำฝอยไร้หนามพันธุ์พานทอง โครงการวิจัยปรับปรุงพันธุ์คำฝอย
    วาสนา วงษ์ใหญ่ และคณะ ภาควิชาพืชไร่นา คณะเกษตร
  36. งาดำพันธุ์ มก.18 และ งาขาวฝักไม่แตกพันธุ์ซีพลัส 2 โครงการวิจัยปรับปรุงพันธุ์งา
    วาสนา วงษ์ใหญ่ และคณะ ภาควิชาพืชไร่นา คณะเกษตร
  37. การใช้ตัวห้ำตัวเบียนควบคุมแมลงศัตรูส้ม
    โกศล เจริญสม ภาควิชากีฏวิทยา คณะเกษตร
  38. การใช้สารสกัดขมิ้นไดโตแซนและน้ำมันหอมระเหยของส้มในการควบคุมโรคเน่าราสีเขียวของส้ม
    สมศิริ แสงโชติ และคณะ ภาควิชาโรคพืช คณะเกษตร
  39. โรคของต้นสบู่ดำและการควบคุม
    นิพนธ์ วิสารทานนท์ ภาควิชาโรคพืช คณะเกษตร
  40. จุลินทรีย์คุณภาพสายพันธุ์ใหม่คู่การเกษตรไทยแบบพอเพียง
    สุดฤดี ประเทืองวงศ์ และคณะ ภาควิชาโรคพืช คณะเกษตร
  41. ประโยชน์และโทษของราต่อมนุษย์ สัตว์และพืช
    เลขา มาโนช ภาควิชาโรคพืช คณะเกษตร
  42. ความหลากหลายทางชีวภาพของเฟิร์น
        1.  ความหลากหลายของเฟิร์นในระบบนิเวศภูเขา : เขตรักษาพันธุ์สัตว์ป่าภูหลวง จังหวัดเลย
             สุมน มาสุธน ภาควิชาพฤกษศาสตร์ คณะวิทยาศาสตร์
        2.  ความหลากหลายของเฟิร์นในระบบนิเวศป่าไม้ : อุทยานแห่งชาติ ดอยอินทนนท์ จังหวัดเชียงใหม่
             สุมน มาสุธน ภาควิชาพฤกษศาสตร์ คณะวิทยาศาสตร์
  43. พืชเส้นใย : กัญชง
    ลิลลี กาวีต๊ะ และคณะ
    ภาควิชาพฤกษศาสตร์ คณะวิทยาศาสตร์
  44. การเพาะเลี้ยงเนื้อเยื่อไม้ป่า
    มาลี ณ นคร และคณะ ภาควิชาพฤกษศาสตร์ คณะวิทยาศาสตร์
  45. การสังเคราะห์แสง : กิจกรรมเอ็นไซม์ไรบูโรสบิสฟอสเฟตคาร์บอกซิเลส
    วัลลภ อารีรบ และคณะ ภาควิชาพฤกษศาสตร์ คณะวิทยาศาสตร์
  46. พิพิธภัณฑ์องค์ความรู้ทางพฤกษศาสตร์
    ศรีสม สุวรรณวงศ์ และคณะ ภาควิชาพฤกษศาสตร์ คณะวิทยาศาสตร์
  47. การผลิตลูกผสมต้นส้มเปลือกล่อนเพื่อใช้ประโยชน์ทางการค้า
    เสาวณีย์ สาธรวิริยะพงศ์ และคณะ คณะภาควิชาพฤกษศาสตร์ คณะวิทยาศาสตร์
  48. การผลิตมะม่วงภายใต้หลังคาพลาสติก เพื่อควบคุมโรคแอนแทรคโนส
    คณุพล จุฑามณี และคณะ ภาควิชาพฤกษศาสตร์ คณะวิทยาศาสตร์
  49. ความหลากหลายของพืชมีเมล็ดในอุทยานแห่งชาติภูหินร่องกล้า จังหวัดพิษณุโลก
    ฉัตรชัย เงินแสงสรวย ภาควิชาพฤกษศาสตร์ คณะวิทยาศาสตร์
  50. ความหลากหลายของพรรณไม้ป่าเต็งรังในมหาวิทยาลัยเกษตรศาสตร์ วิทยาเขตเฉลิมพระเกียรติ จังหวัดสกลนคร
    ฉัตรชัย เงินแสงสรวย และคณะ ภาควิชาพฤกษศาสตร์ คณะวิทยาศาสตร์
  51. การสกัดแอนโดรกราโฟไลด์ ในฟ้าทะลายโจรด้วยคลื่นเสียงอุลตราโซนิค
    ศิริวัลย์ สร้อยกล่อม และคณะ ฝ่ายเครืองมือวิทยาศาสตร์กลาง สถาบันวิจัยและพัฒนา
  52. การปรับปรุงพันธุ์พืชด้วยเทคโนโลยีชีวภาพ
    ศาลักษณ์ พรรณศิริ และคณะ ฝ่ายเครืองมือวิทยาศาสตร์กลาง สถาบันวิจัยและพัฒนา
  53. การผลิตแอลกอฮอล์จากต้นปาล์มน้ำมัน
    พิลาณี ไวถนอมสัตย์ และคณะ สถาบันค้นคว้าและพัฒนาผลิตผลทางการเกษตรและอุตสาหกรรมเกษตร
  54. การใช้ประโยชน์จากข้าว
    อรอนงค์ นัยวิกุล และคณะ ภาควิชาวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยีการอาหาร คณะอุตสาหกรรเกษตร
  55. โรคที่สำคัญของข้าวโพดและการป้องกันกำจัด
    ประชุม จุฑาวรรธนะ ศูนย์วิจัยข้าวโพดและข้าวฟ้างแห่งชาติ
    สถาบันอินทรีจันทรสถิตย์เพื่อการค้นคว้าและพัฒนาพืชศาสตร์
  56. พืชบำรุงดิน
    สุขุม โชติช่วงมณีรัตน์ ศูนย์วิจัยข้าวโพดและข้าวฟ้างแห่งชาติ
    สถาบันอินทรีจันทรสถิตย์เพื่อการค้นคว้าและพัฒนาพืชศาสตร์
    1. การปลูกไมยราบไร้หนามเพื่อปรับปรุงบำรุงดิน
    2. การปลูกถั่วแปบเพื่อปรับปรุงบำรุงดิน

  57. เทคโนโลยีชีวภาพในข้าวโพด
    ชบา จำปาทอง และคณะ สถาบันอินทรีจันทรสถิตย์เพื่อการค้นคว้าและพัฒนาพืชศาสตร์

    1. การเพิ่มปริมาณดีเอ็นเอในหลอดทดลอง
    2. การเพาะเลี้ยงเอ็มบริโอข้าวโพด
    3. การเพาะเลี้ยงอับเรณูข้าวโพด
  58. การพัฒนาสูตรและผลิตภัณฑ์มูลค่าเพิ่มจากข้าวโพดหวาน
    สุรพล เช้าฉ้อง และคณะ ศูนย์วิจัยข้าวโพดและข้าวฟ้างแห่งชาติ
    สถาบันอินทรีจันทรสถิตย์เพื่อการค้นคว้าและพัฒนาพืชศาสตร์
  59. ความก้าวหน้าในการปรุบปรุงพันธุ์ข้าวโพดหวาน และข้าวโพดฝักอ่อนของมหวิทยาลัยเกษตรศาสตร์ในรอบ 15 ปี (พ.ศ.2535-2549)
    โชคชัย เอกทัศนนาวรรณ และคณะ ศูนย์วิจัยข้าวโพดและข้าวฟ้างแห่งชาติ
    สถาบันอินทรีจันทรสถิตย์เพื่อการค้นคว้าและพัฒนาพืชศาสตร์
    1. ความก้าวหน้าในการปรับปรุงพันธุ์ข้าวโพดหวานของมหาวิทยาลัยเกษตรศาสตร์
      ในรอบ 15 ปี (พ.ศ. 2535-2549)
    2. ความก้าวหน้าในการปรับปรุงพันธุ์ข้าวโพดฝักอ่อนของมหาวิทยาลัยเกษตรศาสตร์
      ในรอบ 15 ปี (พ.ศ. 2535-2549)
  60. การรวบรวมและปลูกรักษาพันธุกรรมไม้หอม
    นพพล เกตุประสาท และคณะ
    ฝ่ายปฏิบัติการวิจัยเรือนปลูกพืชทดลอง สถาบันวิจัยและพัฒนา กำแพงแสน
  61. การพัฒนาแผ่นชิ้นไม้อัดจากเศษเหลือไม้กฤษณาเพื่อการเพิ่มมูลค่าอย่างยั่งยืน
    วิวัฒน์ หาญวงศ์จิรวัฒน์ และคณะ ศูนย์วิทยาศาสตร์และเทคโนโลยีทางไม้
    สถาบันวิจัยและพัฒนาแห่งมหาวิทยาลัยเกษตรศาสตร์
  62. การพัฒนาต้นแบบชุดปลูกผักไร้ดิน Hydro55-type
    มะลิวัลย์ ธนะสมบัติ
    สถาบันค้นคว้าและพัฒนาผลิตผลทางการเกษตรและอุตสาหกรรมเกษตร
  63. ผลของการฉายรังสีแกมมาแบบโครนิกต่อการเกิดต้นอ่อนจากใบปักชำของแอฟริกันไวโอเลต (Saintpaulia ionantha)
    อรุณี วงศ์ปิยะสถิตย์ และคณะ
    ภาควิชารังสีประยุกต์และไอโซโทป คณะวิทยาศาสตร์
  64. การเหนี่ยวนำให้เกิดการกลายพันธุ์ในแอฟริกันไวโอเลต (Saintpaulia ionantha) ด้วยรังสีแกมมา
    อรุณี วงศ์ปิยะสถิตย์ และคณะ
    ภาควิชารังสีประยุกต์และไอโซโทป คณะวิทยาศาสตร์