1. การปรับปรุงพันธุ์ข้าวโพด
    1. การปรับปรุงพันธุ์ข้าวโพดหวานและข้าวโพดฝักอ่อนสำหรับตลาดฝักสดและอุตสาหกรรม
      โชคชัย เอกทัศนาวรรณ และคณะ
      ศูนย์วิจัยข้าวโพดและข้าวฟ่างแห่งชาติ สถาบันอินทรีจันทรสถิตย์ฯ
    2. การปรับปรุงพันธุ์ข้าวโพดหวานสำหรับตลาดฝักสดและอุตสาหกรรมแปรรูป
      โชคชัย เอกทัศนาวรรณ และคณะ
      ศูนย์วิจัยข้าวโพดและข้าวฟ่างแห่งชาติ สถาบันอินทรีจันทรสถิตย์ฯ
  2. การวิจัยและพัฒนาข้าวฟ่างหวานเพื่อใช้ประโยชน์เชิงพาณิชย์
    ธำรงศิลป โพธิสูง และคณะ
    ศูนย์วิจัยข้าวโพดและข้าวฟ่างแห่งชาติ สถาบันอินทรีจันทรสถิตย์เพื่อการค้นคว้าและพัฒนาพืชศาสตร์
  3. การใช้ปุ๋ยพืชสดเพื่อการปรับปรุงบำรุงดิน สำหรับการเพาะปลูกข้าวโพดไร่ในประเทศไทย
    นายสุขุม  โชติช่วงมณีรัตน์ และคณะ
    ศูนย์วิจัยข้าวโพดและข้าวฟ่างแห่งชาติ สถาบันอินทรีจันทรสถิตย์เพื่อการค้นคว้าและพัฒนาพืชศาสตร์
  4. การใช้ไมยราบไร้หนามเป็นปุ๋ยพืชสดในการผลิตข้าวโพดหวานฝักสด
    แอนนา  สายมณีรัตน์ ศูนย์วิจัยข้าวโพดและข้าวฟ่างแห่งชาติ สถาบันอินทรีจันทรสถิตย์เพื่อการค้นคว้าและพัฒนาพืชศาสตร์
  5. จันทน์ผาในจังหวัดนครราชสีมา
    องอาจ  หาญชาญเลิศ และคณะ
    สถานีวิจัยปากช่อง สถาบันอินทรีจันทรสถิตย์เพื่อการค้นคว้าและพัฒนาพืชศาสตร์
  6. การปลูกกระเจี๊ยบแดง
    องอาจ  หาญชาญเลิศ สถานีวิจัยปากช่อง สถาบันอินทรีจันทรสถิตย์เพื่อการค้นคว้าและพัฒนาพืชศาสตร์
  7. มะม่วง
    รักเกียรติ  ชอบเกื้อ สถานีวิจัยปากช่อง สถาบันอินทรีจันทรสถิตย์เพื่อการค้นคว้าและพัฒนาพืชศาสตร์
  8. มะละกอ
    รักเกียรติ  ชอบเกื้อ สถานีวิจัยปากช่อง สถาบันอินทรีจันทรสถิตย์เพื่อการค้นคว้าและพัฒนาพืชศาสตร์
  9. อะโวคาโด
    รักเกียรติ  ชอบเกื้อ
    สถานีวิจัยปากช่อง สถาบันอินทรีจันทรสถิตย์เพื่อการค้นคว้าและพัฒนาพืชศาสตร์
  10. อะโวคาโด อาหารเพื่อสุขภาพ
    ขวัญหทัย ทนงจิตร
    สถานีวิจัยปากช่อง สถาบันอินทรีจันทรสถิตย์เพื่อการค้นคว้าและพัฒนาพืชศาสตร์
  11. พันธุ์น้อยหน่าและน้อยหน่าลูกผสมในประเทศไทย และแนวทางการผลิตน้อยหน่าและ น้อยหน่าลูกผสมตามระบบเกษตรดีที่เหมาะสม(GAP)
    เรืองศักดิ์ กมขุนทด และคณะ สถานีวิจัยปากช่อง สถาบันอินทรีจันทรสถิตย์เพื่อการค้นคว้าและพัฒนาพืชศาสตร์
  12. เทคนิคการเพิ่มประสิทธิภาพการขยายพันธุ์มะนาวเชิงการค้า
    สามารถ  เศรษฐวิทยา และคณะ
    ศูนย์วิจัยและพัฒนาไม้ผลเขตร้อน สถาบันวิจัยและพัฒนา  กำแพงแสน
  13. ความหลากหลายของสายพันธุ์พืชตระกูลส้ม
    กาญจน์  จันทร์ลอย และคณะ
    ศูนย์วิจัยและพัฒนาไม้ผลเขตร้อน สถาบันวิจัยและพัฒนา กำแพงแสน
  14. การพัฒนาศักยภาพพืชสมุนไพรสกุลเร่วจากการผลิตระดับครัวเรือนสู่เชิงพาณิชย์
    ณัฐวัฒน์  คลังทรัพย์ และคณะ สถานีวิจัยวนเกษตรตราด สถาบันวิจัยและพัฒนาแห่ง มก.
    1. การผลิตต้นกล้าเร่วหอมโดยการเพาะเลี้ยงเนื้อเยื่อ
      มณฑา วงศ์มณีโรจน์ และคณะ
      ฝ่ายปฏิบัติการวิจัยและเรือนปลูกพืชทดลอง สถาบันวิจัยและพัฒนา กำแพงแสน
    2. เทคโนโลยีการปลูกเร่วหอมเพื่อการผลิตอย่างยั่งยืน
      ณัฐวัฒน์ คลังทรัพย์ สถานีวิจัยวนเกษตรตราด สถาบันวิจัยและพัฒนาแห่ง มก.
    3. การพัฒนาผลิตภัณฑ์จากพืชในสกุลเร่ว
      สุรัตน์วดี จิวะจินดา และคณะ
      ฝ่ายปฏิบัติการวิจัยและเรือนปลูกพืชทดลอง สถาบันวิจัยและพัฒนา กำแพงแสน
  15. งานบริการวิชาการของฝ่ายปฏิบัติการวิจัยและเรือนปลูกพืชทดลอง
    ภาณี ทองพำนัก ฝ่ายปฏิบัติการวิจัยและเรือนปลูกพืชทดลอง  สถาบันวิจัยและพัฒนา กำแพงแสน
  16. ผลของระยะปลูกต่อทรงพุ่มต้นแก้วเจ้าจอม
    อุดม แก้วสุวรรณ์ และคณะ
    ฝ่ายปฏิบัติการวิจัยและเรือนปลูกพืชทดลอง สถาบันวิจัยและพัฒนา กำแพงแสน
  17. การปลดปล่อยธาตุอาหารที่เป็นประโยชน์ต่อพืชของวัสดุปลูก
    จันทร์จรัส  วีรสาร และคณะ
    ฝ่ายปฏิบัติการวิจัยและเรือนปลูกพืชทดลอง สถาบันวิจัยและพัฒนา กำแพงแสน
  18. ความหลากหลายของไม้ประดับ:อโกลนีมาจากการเพาะเลี้ยงเนื้อเยื่อ
    รงรอง หอมหวล และคณะ
    ฝ่ายปฏิบัติการวิจัยและเรือนปลูกพืชทดลอง สถาบันวิจัยและพัฒนา กำแพงแสน
  19. พรรณไม้หอมหายากจากภาคตะวันตก(ข่อยด่าน)
    นพพล เกตุประสาท งานอนุรักษ์และใช้ ประโยช์พืชพรรณ ฝ่ายปฏิบัติการวิจัยและเรือนปลูกพืชทดลอง สถาบันวิจัยและพัฒนา กำแพงแสน
  20. การพัฒนาศักยภาพการผลิตต้นพันธุ์หน่อไม้ฝรั่งโดยเทคนิคการเพาะเลี้ยงเนื้อเยื่อ
    ศิริวรรณ บุรีคำ และคณะ ฝ่ายเครื่องมือวิทยาศาสตร์กลาง สถาบันวิจัยและพัฒนาแห่ง มก.
  21. พันธุ์อ้อยกำแพงแสนของศูนย์วิจัยและพัฒนาอ้อยและน้ำตาล
    เรวัต   เลิศฤทัยโยธิน และคณะ                                 
    ศูนย์วิจัยและพัฒนาอ้อยและน้ำตาล  สถาบันวิจัยและพัฒนา กำแพงแสน
  22. การผสมผสานช่วงวิกฤตและการควบคุมวัชพืชโดยชีววิธีในหน่อไม้ฝรั่ง
    ดวงพร สุวรรณกุล ศูนย์ธุรกิจเกษตร คณะเกษตร
  23. การปรับปรุงพันธุ์คำฝอย : การปลูกและการผลิตชาคำฝอย
    วาสนา วงษ์ใหญ่  และคณะ
  24. งาดำพันธุ์ใหม่ "CM 07" ฝักต้านทานการแตก
    วาสนา  วงษ์ใหญ่ และคณะ  ภาควิชาพืชไร่นา
    ภาควิชาพืชไร่นา  คณะเกษตร
  25. มหัศจรรย์พืชสวน
    1. ก้าวล้ำกับเทคโนโลยีเมล็ดพันธุ์ 
      ภาควิชาพืชสวน คณะเกษตร
    2. อิทธิพลของสวนหย่อมต่อความสามารถในการดูดซับก๊าซคาร์บอนไดออกไซด์
      อิศรา  แพงสี และคณะ ภาควิชาพืชสวน คณะเกษตร
  26. การจัดการองค์ความรู้ด้านหญ้าแฝกของมหาวิทยาลัยเกษตรศาสตร์
    ด้วยระบบเทคโนโลยีสารสนเทศ

    ฉลองชัย แบบประเสริฐ และคณะ
    ภาควิชาพืชสวน คณะเกษตร
  27. แนวทางในการลดปริมาณการสะสมโลหะหนักในผัก พื้นที่ผลิตผักเขตชุมชมเมือง
    ชลาลัย  เสน่ห์ทอง และคณะ
    ภาควิชาปฐพีวิทยา คณะเกษตร
  28. ปริมาณเหล็กและสังกะสีในพื้นที่ปลูกข้าว และปริมาณกรดไฟติคในเมล็ดข้าว แสดงถึงภาวะโภชนาการของประชากรในอำเภอเขาย้อย จังหวัดเพชรบุรี
    นิศานาถ  เจือทอง และคณะ
    ภาควิชาพืชสวน คณะเกษตร
  29. ทางเลือกใหม่ในการควบคุมโรคพืช
    นิพนธ์   ทวีชัย ภาควิชาโรคพืช คณะเกษตร
    1. การควบคุมโรคเหี่ยวของมะเขือเทศโดยใช้สารสกัดจากพืชและธาตุซิลิกอนในโรงเรือน
      นิพนธ์  ทวีชัย  และคณะ์ ภาควิชาโรคพืช คณะเกษตร
    2. การผลิตผงเชื้อจุลินทรีย์ปฏิปักษ์  Bacillus subtilis (Bs)
      ไก่แก้ว  สุธรรมมาและคณะ ภาควิชาโรคพืช คณะเกษตร
    3. การควบคุมแมลงศัตรูพืชด้วยสารสกัดยาสูบ
      นิพนธ์ ทวีชัย และคณะ ภาควิชาโรคพืช คณะเกษตร
  30. ความหลากหลายของเห็ด รา ไลเคนและการใช้ประโยชน์
    เลขา มาโนช และคณะ ภาควิชาโรคพืช คณะเกษตร
  31. ความสำคัญของไส้เดือนฝอยศัตรูพืชต่อผลผลิตทางการเกษตรและการส่งออกของประเทศไทย
    อนงค์นุช สาสนรักกิจ และคณะี ภาควิชาโรคพืช คณะเกษตร
  32. การบันทึกข้อมูลโรคราสนิมของไม้ดอกบางชนิดในประเทศไทยด้วยระบบดิจิตอล
    นิพนธ์ วิสารทานนท์ และคณะ ภาควิชาโรคพืช คณะเกษตร
  33. ข้าว : เมล็ดดีมีชัยไปกว่าครึ่ง
    สมศิริ แสงโชติ ภาควิชาโรคพืช คณะเกษตร
  34. T.Sebifera”  พืชพลังงานทดแทนที่มีศักยภาพในการเป็นพลังงานสีเขียว (green energy)
    จุฑามณี แสงสว่าง และคณะ
    ศูนย์วิจัยระบบนิเวศเกษตร สถาบันค้นคว้าและพัฒนาระบบนิเวศเกษตร
  35. การผลิตองุ่นรับประทานสดคุณภาพดี ณ สถานีวิจัยกาญจนบุรี
    จรัล เห็นพิทักษ์ และคณะ
    สถานีวิจัยกาญจนบุรี สถาบันค้นคว้าและพัฒนาระบบนิเวศเกษตร
  36. การส่งเสริมการผลิตสตรอเบอรี่เชิงการค้าในเขตภาคเหนือตอนล่าง
    เวช เต๋จ๊ะ และคณะ สถานีวิจัยเพรชบูรณ์ สถาบันค้นคว้าและพัฒนาระบบนิเวศเกษตร
  37. “มันสำปะหลัง” เพื่ออาหารและพลังงานทดแทนของโลก
    ประภาส ช่างเหล็ก และคณะ สถาบันค้นคว้าและพัฒนาระบบนิเวศเกษตร
  38. พืชอาหารกับความยั่งยืนของสภาพนิเวศเกษตรในเขตพื้นที่ศูนย์ภูฟ้าพัฒนา
    โอฬาร ตันฑวิรุฬห์ และคณะ
    ศูนย์วิจัยระบบนิเวศเกษตร สถาบันค้นคว้าและพัฒนาระบบนิเวศเกษตร
  39. การวิจัยเพื่อคัดเลือกพันธุ์มะข้ามป้อม
    นคร เหลืองประเสริฐ และคณะ
    ศูนย์วิจัยระบบนิเวศเกษตร สถาบันค้นคว้าและพัฒนาระบบนิเวศเกษตร
  40. การปรับปรุงพันธุ์มะเดื่อฝรั่ง
    ณรงค์ชัย พิพัฒน์ธนวงศ์ และคณะ
    ศูนย์วิจัยระบบนิเวศเกษตร สถาบันค้นคว้าและพัฒนาระบบนิเวศเกษตร