ใบมันสำปะหลังพันธุ์ KUKM 060 สำหรับอาหารสัตว์
ธีระ สมหวัง หัวหน้าสถานีวิจัยเขาหินซ้อน
ศูนย์วิจัยและถ่ายทอดเทคโนโลยีการเกษตร คณะเกษตร
มหาวิทยาลัยเกษตรศาสตร์ โทร.09-6803-7281
ธีระ สมหวัง หัวหน้าสถานีวิจัยเขาหินซ้อน
ศูนย์วิจัยและถ่ายทอดเทคโนโลยีการเกษตร คณะเกษตร
มหาวิทยาลัยเกษตรศาสตร์ โทร.09-6803-7281
ผศ.ดร.พงศ์ธร คงมั่น
ภาควิชาสัตวบาล คณะเกษตร
มหาวิทยาลัยเกษตรศาสตร์ โทร. 06-2891-6695
นายสกล ฉายศรี นักวิจัยชำนาญการพิเศษ จากสถานีวิจัยลพบุรี ศูนย์วิจัยและถ่ายทอดเทคโนโลยีการเกษตร คณะเกษตร พร้อมทีมนักวิจัย ได้ทำการวิจัยและพัฒนาพันธุ์มันสำปะหลัง “พันธุ์เคยู-สกลนคร” มันสำปะหลังทูอินวัน ที่มีศักยภาพใช้ประโยชน์ได้ 2 อย่างในพันธุ์เดียว โดยสามารถใช้ส่วนของลำต้นและใบเพื่อเป็นอาหารสัตว์ ใช้ส่วนของหัวมันสำปะหลังเพื่อการบริโภค หรือส่งเข้าโรงงานอุตสาหกรรมแปรรูป
Read moreนายธีระ สมหวัง นักวิจัยชำนาญการพิเศษ ร่วมกับคณะผู้วิจัย จากสถานีวิจัยเขาหินซ้อน ศูนย์วิจัยและถ่ายทอดเทคโนโลยีการเกษตร คณะเกษตร มหาวิทยาลัยเกษตรศาสตร์ เห็นความสำคัญในการที่จะปรับปรุงพันธุ์มันสำปะหลังเพื่อให้ได้พันธุ์ใหม่ที่มีศักยภาพในการให้ผลผลิตและคุณภาพใบสูง โดยให้ใบมีปริมาณไซยาไนด์ต่ำ และมีปริมาณโปรตีนสูง เพื่อตอบสนองความต้องการของตลาดการผลิตอาหารสัตว์ เพื่อเผยแพร่ให้เกษตรกรนำไปปลูกต่อไป
Read moreKUKM 060 พันธุ์มันสำปะหลังที่ใช้ใบเป็นอาหารสัตว์พันธุ์ใหม่ จากข้อมูลที่วิเคราะห์มีโปรตีนในใบ 25.76% ปริมาณไซยาไนด์ 231 mg/kg ซึ่งปัจจุบันสถานีวิจัยเขาหินซ้อน ได้คัดเลือกสายพันธุ์มันสำปะหลังที่ให้ผลผลิตและคุณภาพใบที่สูง พร้อมส่งเสริมให้เกษตรกรนำไปปลูก สอบถามได้ที่ คุณ ธีระ สมหวัง สถานีวิจัยเขาหินซ้อน โทร. 08-6035-2122
Read moreผลงานของ ดร.ศิริรัตน์ บัวผัน ศูนย์วิจัยและพัฒนาการผลิตนม สถาบันสุวรรณวาจกกสิกิจฯ มก.กพส. และข้อมูลดีๆจาก วารสาร ปศุสัตว์เกษตรศาสตร์
Read moreไหมอีรี่ ไหมพันธุ์ใหม่กินใบมันสำปะหลัง เลี้ยงด้วยใบมันสำปะหลัง มีความแข็งแรง ทนทานต่อโรค เลี้ยงง่าย รังไหม มีรูเปิด ไม่ต้องฆ่าดักแด้ ติดต่อได้ที่ รศ.ดร.ทิพย์วดี อรรถธรรม ภาควิชากีฏวิทยา คณะเกษตรกำแพงแสน มหาวิทยาลัยเกษตรศาสตร์ วิทยาเขต กำแพงแสน โทร.0-34283-1268
Read moreแทนนินสารสกัดจากใบมันสำปะหลังป้องกันแมลง สารแทนนิน ที่สกัดจากใบมันสำปะหลัง จะออกฤทธิ์กับแมลงทั้งปากกัดและปากดูด สารแทนนินจะมีรสฝาดสำหรับแมลง เมื่อแมลงดูดกิน หรือกัดกินใบ จะทำให้แมลงเบื่ออาหาร ย่อยยาก แล้วค่อยๆ หยุดกินใบพืช สารแทนนิน เป็นสารสกัดจากธรรมชาติ ไม่มีผลกระทบต่อสิ่งแวดล้อม ทั้งยังช่วยลดการพึ่งพาสารเคมีปราบศัตรูพืชจากต่างประเทศ ติดต่อได้ที่ ภาควิชาพฤกษศาสตร์ โทร.0-2562-5555 ต่อ 1330 วิทยากร รศ.ดร.วัลลภ อารีรบ ภาควิชาพฤกษศาสตร์ คณะวิทยาศาสตร์ มหาวิทยาลัยเกษตรศาสตร์
Read more