กระเจี๊ยบแดงกำแพงแสน ไจแอนท์เพอร์เพิล
คุณบุณณดา ศรีคำผึ้ง
ศูนย์วิจัยและพัฒนาพืชผักเขตร้อน คณะเกษตร กำแพงแสน
มหาวิทยาลัยเกษตรศาสตร์ กำแพงแสน โทร.09-9641-6246
คุณบุณณดา ศรีคำผึ้ง
ศูนย์วิจัยและพัฒนาพืชผักเขตร้อน คณะเกษตร กำแพงแสน
มหาวิทยาลัยเกษตรศาสตร์ กำแพงแสน โทร.09-9641-6246
ดร.ณภสินธุ์ พัฒนากุล และคณะ
ภาควิชาวิทยาศาสตร์ทั่วไป คณะวิทยาศาสตร์และวิศวกรรมศาสตร์
มหาวิทยาลัยเกษตรศาสตร์ วิทยาเขตเฉลิมพระเกียรติ จังหวัดสกลนคร
โทร. 085-192-6635 E-mail: nopbhasinthu.p@ku.th
อาจารย์ ดร.ณภสินธุ์ พัฒนากุล และคณะ
ภาควิชาวิทยาศาสตร์ทั่วไป คณะวิทยาศาสตร์และวิศวกรรมศาสตร์
มหาวิทยาลัยเกษตรศาสตร์ วิทยาเขตเฉลิมพระเกียรติ จังหวัดสกลนคร
โทร. 085-192-6635 E-mail: nopbhasinthu.p@ku.th
ดร.ณภสินธุ์ พัฒนากุล
คณะวิทยาศาสตร์และวิศวกรรมศาสตร์ มหาวิทยาลัยเกษตรศาสตร์
วิทยาเขตเฉลิมพระเกียรติ จังหวัดสกลนคร โทร.08-5192-6635
ดร.ชฎามาศ จิตต์เลขา และคณะผู้วิจัย
ศูนย์วิจัยข้าวโพดและข้าวฟ่างแห่งชาติ คณะเกษตร
มหาวิทยาลัยเกษตรศาสตร์
กระเจี๊ยบแดงพันธุ์กำแพงแสนม่วงจัมโบ้ กลีบเลี้ยงมีขนาดใหญ่ กลีบเลี้ยงรูปทรงยาวและค่อนข้างหนา มีสีแดงอมม่วงหรือสีม่วง มีสารแอนโทไซยานิน สารประกอบฟีนอลิกรวมและฤทธิ์ต้านอนุมูลอิสระในปริมาณสูง ลำต้นแข็งแรง แตกกิ่งก้านมาก ให้ผลผลิตสูง เก็บเกี่ยวได้เร็วกว่าพันธุ์อื่น สอบถามได้ที่ คุณอุทัยวรรณ ด้วงเงิน ศูนย์วิจัยและพัฒนาพืชผักเขตร้อน ภาควิชาพืชสวน คณะเกษตร มหาวิทยาลัยเกษตรศาสตร์ วิทยาเขตกำแพงแสน โทร.08-1936-9260
Read moreข้าวโพดสีม่วงจากต่างประเทศไม่สามารถปรับตัวได้ในสภาพแวดล้อมของประเทศไทย ในปี พ.ศ. 2534 ด้วยเหตุนี้ ทีมวิจัยนักพัฒนาพันธุ์ โครงการปรับปรุงพันธุ์ข้าวโพดสีม่วงของมหาวิทยาลัยเกษตรศาสตร์ นำโดย ดร.โชคชัย เอกทัศนาวรรณ ดร.สรรเสริญ จำปาทอง นางชไมพร เอกทัศนาวรรณ นายนพพงศ์ จุลจอหอ และ นายฉัตรพงศ์ บาลลา จาก ศูนย์วิจัยข้าวโพดและข้าวฟ่างแห่งชาติ คณะเกษตร มหาวิทยาลัยเกษตรศาสตร์ ได้นำพันธุ์ข้าวโพดสีม่วงจากประเทศเปรูมาผสมกับพันธุ์ข้าวโพดเลี้ยงสัตว์ที่ดีเด่นของมหาวิทยาลัยเกษตรศาสตร์ พันธุ์สุวรรณ 3 (S) C4 (ME)C1 และสายพันธุ์แท้ KS 23-F5-S5-705-1)
Read moreเนื่องจากซังข้าวโพดสีม่วง KPSC 903 มีคุณสมบัติที่ดีของการเป็นแหล่งของสารต้านอนุมูลอิสระ ดร.อุดมลักษณ์ สุขอัตตะ จึงได้ทำการวิจัยต่อยอดในการพัฒนาเป็นผงสารสกัดแอนโทไซยานินจากซังข้าวโพด และนำมาพัฒนาเป็นสารต้านอนุมูลอิสระ เพื่อใช้เป็นวัตถุดิบในการผลิตเครื่องสำอางเพื่อสุขภาพผิวในกลุ่มผลิตภัณฑ์บำรุงผิวหน้า เนื่องจากมีคุณสมบัติที่ดีต่อผิว มีความปลอดภัยต่อผู้บริโภค และยังเป็นการเพิ่มมูลค่าให้แก่ซังข้าวโพดลูกผสมแอนโทไซยานินสูงพันธุ์ KPSC 903 ที่เป็นผลผลิตจากงานวิจัยของมหาวิทยาลัยเกษตรศาสตร์
Read moreนางสาวศิริพรรณ สุขขัง นายสมนึก พรมแดง นางสาวสายน้ำอ้อย สว่างเมฆ นักวิจัยจากฝ่ายปฏิบัติการวิจัยและเรือนปลูกพืชทดลอง และนางอุทัยวรรณ ด้วงเงิน เจ้าหน้าที่วิจัยจากศูนย์วิจัยและพัฒนาพืชผักเขตร้อน คณะเกษตร กำแพงแสน มหาวิทยาลัยเกษตรศาสตร์ วิทยาเขตกำแพงแสน ได้ทำการวิเคราะห์ปริมาณสารสำคัญทางโภชนาการ ได้แก่ปริมาณสารแอนโทไซยานิน ปริมาณกรดอินทรีย์ ปริมาณสารประกอบฟินอลิก รวมทั้งฤทธิ์ต้านอนุมูลอิสระของสารสกัดจากกลีบเลี้ยงสดของกระเจี๊ยบที่คัดเลือกไว้ทั้ง 13 พันธุ์
Read more