เครื่องคัดไข่ไก่ด้วยระบบอัตโนมัติและประมวลผลภาพ
ผศ.ดร.ปิยะพงษ์ ศรีวงษ์ราช
ภาควิชาเกษตรกลวิธาน คณะเกษตร
มหาวิทยาลัยเกษตรศาสตร์ โทร. 08-1940-9903
ผศ.ดร.ปิยะพงษ์ ศรีวงษ์ราช
ภาควิชาเกษตรกลวิธาน คณะเกษตร
มหาวิทยาลัยเกษตรศาสตร์ โทร. 08-1940-9903
ว่าที่ร้อยตรี พิสิษฐ์ อินทรวิรัตน์ และคณะ
ศูนย์เครื่องจักรกลการเกษตรแห่งชาติ คณะวิศวกรรมศาสตร์ กำแพงแสน
มหาวิทยาลัยเกษตรศาสตร์ วิทยาเขตกำแพงแสน โทร. 08-5058-0904
ผศ.ดร.ปิยะพงษ์ ศรีวงษ์ราช
ภาควิชาเกษตรกลวิธาน คณะเกษตร
มหาวิทยาลัยเกษตรศาสตร์ โทร. 08-1940-9903
ผศ.ดร.ปิยะพงษ์ ศรีวงษ์ราช
ภาควิชาเกษตรกลวิธาน คณะเกษตร
มหาวิทยาลัยเกษตรศาสตร์ โทร. 08-1940-9903
รศ.ดร.จินตนา อันอาตม์งาม และผศ.ดร.สุจินต์ ภัทรภูวดล
ภาควิชาโรคพืช คณะเกษตร กำแพงแสน
มหาวิทยาลัยเกษตรศาสตร์ วิทยาเขตกำแพงแสน โทร. 08-9891-5267
รศ.ดร. รัชนี ฮงประยูร ภาควิชาโรคพืช คณะเกษตร กำแพงแสน
มหาวิทยาลัยเกษตรศาสตร์ วิทยาเขตกำแพงแสน โทรศัพท์ 034-351890
ผศ.ดร.อมรฤทธิ์ พุทธิพิพัฒน์ขจร
ภาควิชาวิศวกรรมคอมพิวเตอร์ คณะวิศวกรรมศาสตร์ กำแพงแสน
มหาวิทยาลัยเกษตรศาสตร์ วิทยาเขตกำแพงแสน โทร.08-1903-6571
การพัฒนาระบบจัดการแอปพลิเคชันการเกษตร
Read moreการพัฒนาระบบจัดการแอปพลิเคชันการเกษตร เกษตรกรสามารถใช้แอปพลิเคชันการบริหารจัดการและบัญชีฟาร์มสำหรับเกษตรกรผู้ปลูกข้าวในการบันทึกข้อมูลพื้นฐานและปัจจัยต่างๆ ในการผลิตข้าว เพื่อให้ทราบถึงต้นทุนการผลิต และคาดการณ์ผลตอบแทนที่เกิดขึ้นได้ รวมถึงสามารถเปรียบเทียบข้อมูลของผู้ใช้กับเกษตรกรรายอื่น เพื่อให้เกษตรกรสามารถวางแผนการผลิตได้อย่างแม่นยำและมีประสิทธิภาพมากยิ่งขึ้น เกษตรกรสามารถเข้าถึงข้อมูลต่างๆ เกี่ยวกับข้าว เช่น สถานการณ์ข้าวในตลาดโลก พันธุ์ข้าวที่มีลักษณะเด่น เป็นต้น ที่จัดทำในรูปแบบเสมือนจริง ผ่านอุปกรณ์ที่รองรับเทคโนโลยี Augmented Reality (AR) และ Virtual Reality (VR) เพื่อสร้างอรรถรสในการรับความรู้รูปแบบใหม่ให้กับเกษตรกรหรือบุคคลทั่วไปที่สนใจ สอบถามได้ที่ ผศ.ดร.อิทธิพงศ์ มหาธนเศรษฐ์ ภาควิชาเศรษฐศาสตร์เกษตรและทรัพยากร คณะเศรษฐศาสตร์ มหาวิทยาลัยเกษตรศาสตร์ โทร.09-5439-5495
Read moreเครื่องสแกนมะพร้าวน้ำหอม ด้วยระบบ Near Infrared (NIR) โดยการใช้เทคนิคที่รวดเร็ว แม่นยำ และไม่ทำลายผลผลิต ซึ่งเครื่องนี้สามารถวิเคราะห์จำนวนชั้นเนื้อของมะพร้าวอ่อน และช่วยลดความเสี่ยงในการส่งออกมะพร้าวที่มีชั้นเนื้อไม่ได้ตามเกณฑ์ไปยังผู้บริโภค อีกทั้งยังช่วยลดความสูญเสียจากการแตกของมะพร้าวในระหว่างการขนส่ง ซึ่งเกิดจากการส่งออกมะพร้าวที่อ่อนเกินไป นอกจากนี้ยังเป็นการเพิ่มมูลค่าของมะพร้าวที่มีชั้นเนื้อเหมาะสม และลด/กำจัดการปฎิเสธสินค้าที่ต่ำกว่ามาตรฐานของผู้ประกอบการได้อีกด้วย สอบถามได้ที่ ผศ.ดร.รณฤทธิ์ ฤทธิรณ ห้องปฏิบัติการ Near Infrared ภาควิชาวิศวกรรมการอาหาร คณะวิศวกรรมศาสตร์ กำแพงแสน มหาวิทยาลัยเกษตรศาสตร์ โทร. 085-9171017
Read more