เครื่องดื่มเห็ดเยื่อไผ่ในน้ำสมุนไพร
ผศ.รุจิกาญจน์ ศิริวัณธรัตน์
คณะวิทยาศาสตร์และวิศวกรรมศาสตร์ มหาวิทยาลัยเกษตรศาสตร์
วิทยาเขตเฉลิมพระเกียรติ จังหวัดสกลนคร โทร.06-2541-5558
ผศ.รุจิกาญจน์ ศิริวัณธรัตน์
คณะวิทยาศาสตร์และวิศวกรรมศาสตร์ มหาวิทยาลัยเกษตรศาสตร์
วิทยาเขตเฉลิมพระเกียรติ จังหวัดสกลนคร โทร.06-2541-5558
ผศ.รุจิกาญจน์ ศิริวัณธรัตน์ และคณะ
คณะวิทยาศาสตร์และวิศวกรรมศาสตร์ มหาวิทยาลัยเกษตรศาสตร์
วิทยาเขตเฉลิมพระเกียรติ จังหวัดสกลนคร โทร.06-2541-5558
ดร.ลัดดา แสงเดือน วัฒนศิริธรรม และคณะ
สถาบันค้นคว้าและพัฒนาผลิตภัณฑ์อาหาร มหาวิทยาลัยเกษตรศาสตร์
โทร. 02-942-8629-35 ต่อ 502 E-mail: ifrlds@ku.ac.th
ดร.ลัดดา แสงเดือน วัฒนศิริธรรม และคณะ
สถาบันค้นคว้าและพัฒนาผลิตภัณฑ์อาหาร มหาวิทยาลัยเกษตรศาสตร์
02-942-8629-35 ต่อ 502 E-mail: ifrlds@ku.ac.th
รศ.ดร.กมลวรรณ แจ้งชัด
ภาควิชาพัฒนาผลิตภัณฑ์ คณะอุตสาหกรรมเกษตร
มหาวิทยาลัยเกษตรศาสตร์ โทร. 0-2562-5007
ดร. ลัดดา แสงเดือน วัฒนศิริธรรม
สถาบันค้นคว้าและพัฒนาผลิตภัณฑ์อาหาร
โทร.0-2942-8629 ต่อ 1502
ดร. ลัดดา แสงเดือน วัฒนศิริธรรม และคณะ
สถาบันค้นคว้าและพัฒนาผลิตภัณฑ์อาหาร มหาวิทยาลัยเกษตรศาสตร์
โทร. 0-2942-8629-35 ต่อ 502 E-mail: ifrlds@ku.ac.th
คุณพัทธินันท์ วาริชนันท์ นักวิจัย สถาบันค้นคว้าและพัฒนาผลิตภัณฑ์อาหาร โทร. 0-2942-8629 ต่อ 1219
Read moreนักวิจัย ม.เกษตร ทำการศึกษาความหลากหลายทางชีวภาพของเห็ดกินได้และศึกษาปัจจัยแวดล้อมที่มีอิทธิพลต่อผลิตผลของเห็ดกินได้ในป่าธรรมชาติ ซึ่งองค์ความรู้ที่ได้จะเป็นแนวทางในการพัฒนาพื้นที่ป่าเสื่อมโทรมให้เป็นแปลงสาธิตการเพาะเห็ดป่ากินได้ ซึ่งจะนำไปสู่การใช้ประโยชน์บนพื้นฐานของศักยภาพทรัพยากรความหลากหลายทางชีวภาพของเห็ดระดับชุมชน และเพิ่มพูนทางเศรษฐกิจระดับชุมชนจากการเก็บผลผลิตของเห็ดป่า เห็ด มีความสำคัญในการย่อยสลายอินทรียสารให้เป็นแร่ธาตุ นอกจากประโยชน์มีต่อระบบนิเวศแล้ว เห็ดป่าหลายชนิดยังเป็นเห็ดที่กินได้และบางชนิดมีมูลค่าทางเศรษฐกิจสูง ปัจจัยแวดล้อมหลายปัจจัยยังที่มีอิทธิพลต่อปริมาณการเกิดของเห็ด ทำให้ไม่สามารถคาดการณ์ปริมาณของเห็ดในแต่ละปีได้ ดร.ธารรัตน์ แก้วกระจ่าง ภาควิชาชีววิทยาป่าไม้ คณะวนศาสตร์ มหาวิทยาลัยเกษตรศาสตร์ จึงได้ทำการทำการศึกษาความหลากหลายทางชีวภาพของเห็ดกินได้และศึกษาปัจจัยแวดล้อมที่มีอิทธิพลต่อผลิตผลของเห็ดกินได้ในป่าธรรมชาติ จากการสำรวจเห็ดกินได้ในป่าเต็งรังและป่าดิบแล้งบริเวณสถานีวิจัยสิ่งแวดล้อมสะแกราช จ.นครราชสีมา
Read moreรศ.ดร.สิรี ชัยเสรี รองอธิการบดีฝ่ายวิจัย มหาวิทยาลัยเกษตรศาสตร์ กล่าวเปิดการบรรยายพิเศษ “การพัฒนางานวิจัยเรื่อง เห็ด” ในหัวข้อ “สถานการณ์เห็ดของประเทศไทย” โดย คุณชาญยุทธ์ ภาณุทัต นายกสมาคมนักวิจัยและเพาะเห็ดแห่งประเทศไทย และบรรยายพิเศษหัวข้อ “แผนการวิจัย พัฒนา และนวัตกรรมด้านเห็ด ของ สวทช.” โดย
Read more