ใบมันสำปะหลังพันธุ์ KUKM 060 สำหรับอาหารสัตว์
ธีระ สมหวัง หัวหน้าสถานีวิจัยเขาหินซ้อน
ศูนย์วิจัยและถ่ายทอดเทคโนโลยีการเกษตร คณะเกษตร
มหาวิทยาลัยเกษตรศาสตร์ โทร.09-6803-7281
ธีระ สมหวัง หัวหน้าสถานีวิจัยเขาหินซ้อน
ศูนย์วิจัยและถ่ายทอดเทคโนโลยีการเกษตร คณะเกษตร
มหาวิทยาลัยเกษตรศาสตร์ โทร.09-6803-7281
ผศ.ดร.พงศ์ธร คงมั่น
ภาควิชาสัตวบาล คณะเกษตร
มหาวิทยาลัยเกษตรศาสตร์ โทร. 06-2891-6695
ผศ.ดร.วรวัชร วัฒนฐานะ
ภาควิชาวิศวกรรมวัสดุ คณะวิศวกรรมศาสตร์ มหาวิทยาลัยเกษตรศาสตร์
โทร. 090-9863-068 E-mail: fengwwwa@ku.ac.th
คุณปรเมศ แสนยากุล
สถานีวิจัยเพชรบูรณ์ ศูนย์วิจัยและถ่ายทอดเทคโนโลยีการเกษตร
คณะเกษตร มหาวิทยาลัยเกษตรศาสตร์ โทร. 08-2883-9060
อาจารย์ธิติพงษ์ โพธิสุทธิ์ ภาควิชาวิศวกรรมการอาหาร คณะวิศวกรรมศาสตร์ กำแพงแสน มหาวิทยาลัยเกษตรศาสตร์ โทร. 08-1803-5716
Read moreไม้ยูคาหนึ่งต้น ตัดอย่างไรให้ได้มูลค่าสูงสุด
Read moreการปลูกเมล่อนด้วยระบบโซลาร์เซล เพื่อแก้ปัญหาการปลูกเมล่อนในโรงเรืยน ประหยัดพลังงานและลดการสูญเสียของปุ๋ยที่ปนมากับน้ำ โดยใช้ระบบโซลาร์เซลล์ในการหมุนเวียนสารละลายธาตุอหาร ทำให้ลดการสูญเสียได้มาก และเมล่อนยังเติบโตได้ดี ซึ่งเป็นผลงานวิจัย คุณศรันย์ หงษาครประเสริฐ สถานีวิจัยและพัฒนาอาชีพแก่เกษตรกร ศูนย์วิจัยและถ่ายทอดเทคโนโลยีการเกษตร คณะเกษตร มหาวิทยาลัยเกษตรศาสตร์ สอบถามได้ที่ โทร. 06-4065-4197
Read moreชุดเพาะถั่วงอกระบบอัตโนมัติการเพาะถั่วงอก แต่เดิมต้องคอยเฝ้ารดน้ำทุก 2 ชั่วโมง เป็นเวลา 3 วัน เมล็ดถั่วเขียวจะงอกเป็นถั่วงอกสีขาว ทำให้เสียเวลาในการเฝ้ารดน้ำอยู่ประจำ ซึ่งชุดเพาะถั่วงอกระบบอัตโนมัติ ช่วยในควบคุมการให้น้ำได้ตามเวลาที่กำหนด ซึ่งจะช่วยลดปัญหาในเรื่องการที่จะต้องคอยเฝ้ารดน้ำให้กับถั่วงอก และที่สำคัญช่วยสร้างรายได้ และได้บริโภคผลผลิตถั่วงอกสด ที่มีคุณภาพ สอบถามได้ที่ นายศรันย์ หงษาครประเสริฐ สถานีวิจัยและพัฒนาอาชีพแก่เกษตรกร ศูนย์วิจัยและถ่ายทอดเทคโนโลยีการเกษตร คณะเกษตร มหาวิทยาลัยเกษตรศาสตร์ โทร. 06-4065-4197
Read moreCowlog แอปพลิเคชัน เพื่อการบริหารจัดการฟาร์มโคนม เป็นระบบช่วยเกษตรตัดสินใจบริหารจัดการฟาร์มโคนมได้อย่างแม่นยำ ซึ่งสามารถรวบรวมข้อมุลทุกรายงานเกี่ยวข้องกับการบริหาร และช่วยในการแจ้งเตือนกิจกรรมที่จำเป็น อาทิ การผสมพันธุ์ วันคลอดของโค วันผลิตน้ำนม เพื่อลดการสูญเสียรายได้ และบริหารจัดการภายในฟาร์มได้อย่างมีประสิทธิภาพ สอบถามได้ที่ ติดต่อสอบถามได้ที่ รศ.ดร.พันธุ์ปิติ เปี่ยมสง่า ภาควิชาวิศวกรรมคอมพิวเตอร์ โทร. 0-2942-8555 ต่อ 1419
Read moreผลิตภัณฑ์ผงเบต้าไซยานิน จากเปลือกแก้วมังกร เปลือกแก้วมังกรสีแดง เป็นวัสดุเหลือทิ้งจากการเกษตร ที่มีศักยภาพในการนำมาพัฒนาต่อยอดเพื่อเพิ่มมูลค่า โดยผ่านกระบวนการสกัดสารเบต้าไซยานินจากเปลือกแก้วมังกรอบแห้ง และนำไปทำผงแห้งด้วยวิธีการอบแห้งแบบพ่นฝอย ซึ่งผลิตภัณฑ์ผงเบต้าไซยานิน จากเปลือกแก้วมังกร มีคุณสมบัติต้านอนุมูลอิสระและต้านการอักเสบ และสามารถนำไปใช้เป็นส่วนประกอบสารแต่งสีธรรมชาติทดแทนการใช้สีสังเคราะห์ในอาหารและเครื่องดื่ม ไม่มีรสชาติ กลิ่น ละลายน้ำได้ง่าย ให้สีชมพูอมม่วง ปลอดภัยต่อผู้บริโภค ไม่มีความเป็นพิษต่อเซลล์ สอบถามได้ที่ คุณชุษณา เมฆโหรา ฝ่ายโภชนาการและสุขภาพ สถาบันค้นคว้าและพัฒนาผลิตภัณฑ์อาหาร โทร. 0 2942 8629-35 (1607)
Read more