ระบบประเมินน้ำหนักออนไลน์อัจฉริยะสำหรับอุตสาหกรรมฟาร์มสัตว์ปีก
รศ.ดร.จิรศักดิ์ วงศ์เอกบุตร
ภาควิชาฟิสิกส์ คณะวิทยาศาสตร์ มหาวิทยาลัยเกษตรศาสตร์
โทร. 08-1720-4356, 08-0427-7668
รศ.ดร.จิรศักดิ์ วงศ์เอกบุตร
ภาควิชาฟิสิกส์ คณะวิทยาศาสตร์ มหาวิทยาลัยเกษตรศาสตร์
โทร. 08-1720-4356, 08-0427-7668
สถาบันวิจัยและพัฒาแห่งมหาวิทยาลัยเกษตรศาสตร์ จัดบรรยายพิเศษ เรื่อง “แนวทางการสนับสนุนแผนงานแพลตฟอร์มบ่มเพาะด้านวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยีเชิงลึก เพื่อการต่อยอดสู่ภาคอุตสาหกรรม (Deep Science and Tech Accelerator) ของ บพข.” ประจำปี 2564 ของมหาวิทยาลัยเกษตรศาสตร์ วันที่ 9 กุมภาพันธ์ 2564 ณ
Read moreรัฐบาลให้ความสำคัญในการพัฒนาเศรษฐกิจของประเทศโดยได้มีการกำหนด 10 อุตสาหกรรมเป้าหมาย: กลไกขับเคลื่อนเศรษฐกิจเพื่ออนาคต เพื่อเป็นมาตรการระยะยาวที่จะกำหนดทิศทาง การปรับโครงสร้างด้านการผลิต ทั้งเกษตร-อุตสาหกรรม-บริการ ของประเทศให้มีประสิทธิภาพ มีความสามารถในการแข่งขัน มีการสร้างงานคุณภาพ และมีการสนับสนุนเศรษฐกิจภูมิภาคอย่างเป็นระบบ เพื่อผลักดันให้เกิดการลงทุนให้เพิ่มขึ้น และให้ประเทศสามารถแข่งขันกับประเทศอื่นได้ สำนักงานการวิจัยแห่งชาติ (วช.) เล็งเห็นความสำคัญในการพัฒนาอุตสาหกรรมของประเทศ ซึ่งจำเป็นต้องส่งเสริมสนับสนุนการวิจัยและนวัตกรรมเพื่อยกระดับการขับเคลื่อนเศรษฐกิจให้เติบโตบนฐานนวัตกรรมและยกระดับการแข่งขันของภาคอุตสาหกรรมไทย สร้างผลกระทบในเชิงเศรษฐกิจ และได้กำหนดกลุ่มอุตสาหกรรมเพื่อสนับสนุนทุนวิจัยและนวัตกรรม ดังนี้
Read moreรศ.ดร.เชาว์ อินทร์ประสิทธิ์
ภาควิชาวิศวกรรมการอาหาร คณะวิศวกรรมศาสตร์ กำแพงแสน
มหาวิทยาลัยเกษตรศาสตร์ วิทยาเขตกำแพงแสน
แอปพลิเคชันสำหรับการสร้างสูตรอาหารสัตว์น้ำ (3Fs) ช่วยให้เกษตรกรสามารถสร้างสูตรอาหารเลี้ยงสัตว์น้ำที่เหมาะสมกับวัตถุดิบที่มีอยู่ตามแต่ละพื้นที่ และช่วยลดต้นทุนการผลิต เพิ่มมูลค่าจากของเหลือใช้ วัตถุดิบท้องถิ่น และลดค่าใช้จ่ายในการกำจัดวัสดุเหลือใช้ของโรงงานอุตสาหกรรม สามารถคำนวณ และสร้างสูตรอาหารในสภาพกึ่งเปียกกึ่งแห้งได้ สอบถามได้ที่ รศ.ดร. วราห์ เทพาหุดี รศ. เจษฏา อิสเหาะ และนายพุทธสงฆ์ สังข์วรรณ ภาควิชาเพาะเลี้ยงสัตว์น้ำ คณะประมง มหาวิทยาลัยเกษตรศาสตร์ โทร.0 2561 3984
Read moreเครื่องตรวจสอบและคัดแยกไข่ที่มีโอกาสฟักตัวอัตโนมัติ ปัจจุบันอุตสาหกรรมไก่เติบโตขึ้นทุกปี ในทุกวันมีการฟักไข่เกิดขึ้นเป็นจำนวนมาก ซึ่งไม่ใช่ไข่ทุกฟองที่สามารถฟักออกเป็นตัวได้ ไข่บางฟองที่เชื้อตาย มีรอยร้าว หรืออื่นๆ หากปล่อยทิ้งไว้ไข่เหล่านี้จะเน่า และทำให้เกิดก๊าซไฮโดรเจนซัลไฟด์ ส่งผลให้ไข่หรือลูกเจี๊ยบที่ออกมาเกิดความเสียหาย จึงได้เกิดแนวคิดการออกแบบและสร้างเครื่องตรวจสอบและคัดแยกไข่ที่มีโอกาสฟักตัวอัตโนมัติขึ้นมา โดยใช้การประมวลผลภาพจากกล้องในการระบุไข่เสียและใช้ระบบแขนกลในการคัดแยกไข่เหล่านี้ออก สอบถามได้ที่ ผศ.ดร.ชนะ รักษ์ศิริ ภาควิชาวิศวกรรมอุตสาหการ คณะวิศวกรรมศาสตร์ มหาวิทยาลัยเกษตรศาสตร์ โทร.0-2797-0999 ต่อ1197
Read moreการผลิตถ่านกัมมันต์จากชานอ้อย เพื่อสิ่งแวดล้อม เป็นนวัตกรรมใหม่ เพื่อใช้ในการบำบัดหรือกำจัดมลสารที่ปนเปื้อนอยู่ในน้ำเสีย โดยอาศัยการดูดซับ ซึ่งถ่านกัมมันต์มีความสามารถในการดูดซับสูง เนื่องจากมีพื้นผิวมาก มีความจุในการดูดซับสูง สามารถดููดซับโลหะชนิดต่าง ๆ ได้หากนำไปใช้ในภาคอุตสาหกรรม ก็จะช่วยในการลดปริมาณโลหะหนัก และลดปริมาณน้ำเสีย ก่อนทิ้ง ถ่านกัมมันต์ยังสามารถใช้ในการดูดสีและดูดกลิ่น ซึ่งงานวิจัยนี้ ใช้วิธีทางกายภาพ โดยใช้ไอน้ำ ต้นทุนในการผลิตอยู่ที่ราคาประมาณ 20 บาท/กิโลกรม สอบถามได้ที่ ผศ.ดร.ศิริกาญจนา ทองมี ภาควิชาฟิสิกส์ คณะวิทยาศาสตร์ มหาวิทยาลัยเกษตรศาสตร์ โทร.0-2942-8025
Read moreวันที่ 9 ก.ค. 2558 สถาบันวิจัยและพัฒนาแห่งมหาวิทยาลัยเกษตรศาสตร์ จัดประชุมเพื่อพัฒนาข้อเสนอการวิจัยเชิงนโยบายในอุตสาหกรรมอ้อย ปาล์มน้ำมัน ณ ห้องประชุมทับทิม อาคารสุวรรณวาจกกสิกิจ สถาบันวิจัยและพัฒนาแห่ง มก.
Read moreสำนักงานคณะกรรมการวิจัยแห่งชาติ (วช.) กำหนดจัดการสัมมนาระดมสมองเรื่อง “กรอบการวิจัยเพื่อพัฒนาอุตสาหกรรมพลาสติกชีวภาพ” ในวันพฤหัสบดีที่ 2 เมษายน 2558 เวลา 08:00-16:30 น. ณ ห้องประชุมจอมพลสฤษดิ์ ธนะรัตน์ ชั้น 1 อาคาร วช. 1 เพื่อระดมสมอง
Read more