เทคนิคการบรรจุหมึกหอมที่มีชีวิตเพื่อการขนส่ง
โดย ผศ. ดร. จรวย สุขแสงจันทร์
ภาควิชาวิทยาศาสตร์ทางทะเล
คณะประมง
โดย ผศ. ดร. จรวย สุขแสงจันทร์
ภาควิชาวิทยาศาสตร์ทางทะเล
คณะประมง
ปลาหมึกเป็นอาหารที่นิยมในการบริโภคเป็นอย่างมาก แต่ปัจจุบันอาหารทะเล ไม่มีการนำปลาหมึกเป็นๆ มาจำหน่ายหรือผู้บริโภค เหมือนสัตว์อื่นๆ เนื่องจากยังไม่มีการดูแลหรือบรรจุปลาหมึกที่มีชีวิต มหาวิทยาลัยเกษตรศาสตร์ จึงนำเทคนิคการบรรจุหมึกหอมที่มีชีวิตเพื่อการขนส่ง เพราะนอกจากจะทำให้ผู้บริโภคได้บริโภคของที่มีคุณภาพ ยังช่วยเพิ่มมูลค่าให้สินค้าสัตว์ ตลอดจนเทคนิคการขนส่งหมึกหมอที่มีชีวิต ไปเลี้ยงต่อ aquarium เพื่อเป็นสัตว์เลี้ยงสวยงาม สอบถามได้ที่ ผศ.ดร.จรวย สุขแสงจันทร์ คุณกัญญภา เลิศอิทธิเวช คุณสนธยา ผุยน้อย คณะประมง มหาวิทยาลัยเกษตรศาสตร์ โทร.08-1554-4221
Read moreปัจจุบันชาวประมงนิยมใช้เครื่องมือประมงประกอบแสงไฟในเวลากลางคืน เพื่อล่อสัตว์น้ำให้เข้าหาแสงไฟ มีข้อที่ถกเถียงกันทั้งในวงวิชาการและชาวประมงมาเป็นเวลานานว่า แสงสีใดที่มีประสิทธิภาพในการล่อหมึกได้ดีที่สุด ชาวประมงในแต่ละพื้นที่ ต่างก็ใช้ไฟแสงสีต่างกันในการล่อหมึกให้เข้ามารวมฝูงเพื่อง่ายต่อการจับหมึก ชาวประมงบางพื้นที่ใช้ไฟสีแดง แต่อีกพื้นที่กลับบอกว่าการใช้ไฟสีแดงไม่สามารถจับหมึกได้ดีเท่ากับการใช้ไฟสีเขียว กล่องควบคุมการเปิดปิด หลอดไฟ LED ตู้กระจกพร้อมโครงท่อพีวีซี ผศ.ดร.จรวย สุขแสงจันทร์ ร่วมกับผศ.ดร.มณฑล อนงค์พรยศกุล และดร.กมลพันธ์ อวัยวานนท์ จากภาควิชาวิทยาศาสตร์ทางทะเล
Read more