คาร์บอนรูพรุนจากดอกดาวเรืองเหลือทิ้ง
ผศ.ดร.กษิดิศ พนมสุวรรณ
ภาควิชาวิศวกรรมวัสดุ คณะวิศวกรรมศาสตร์
มหาวิทยาลัยเกษตรศาสตร์
โทร 02-797-0999 ext.2123 E-mail gasidit.p@ku.th
ผศ.ดร.กษิดิศ พนมสุวรรณ
ภาควิชาวิศวกรรมวัสดุ คณะวิศวกรรมศาสตร์
มหาวิทยาลัยเกษตรศาสตร์
โทร 02-797-0999 ext.2123 E-mail gasidit.p@ku.th
อาจารย์นงลักษณ์ เล็กรุ่งเรืองกิจ
ศูนย์ปฏิบัติการวิศวกรรมพลังงานและสิ่งแวดล้อม
ภาควิชาวิศวกรรมเกษตร คณะวิศวกรรมศาสตร์ กำแพงแสน
มหาวิทยาลัยเกษตรศาสตร์ วิทยาเขตกำแพงแสน โทร. 09-1021-9191
ศ.ดร.สุดฤดี ประเทืองวงศ์
ภาควิชาโรคพืช คณะเกษตร
มหาวิทยาลัยเกษตรศาสตร์ โทร. 0-2942-8044
ดร. ลักขณา เบ็ญจวรรณ์ และคณะนักวิจัย
ศูนย์ปฏิบัติการวิจัยและเรื่อนปลูกพืชทดลอง คณะเกษตร กำแพงแสน
มหาวิทยาลัยเกษตรศาสตร์ วิทยาเขตกำแพงแสน
โทร. 094-463-5614 E-mail: rdilnb@ku.ac.th
ดร. ลักขณา เบ็ญจวรรณ์ และคณะนักวิจัย
ศูนย์ปฏิบัติการวิจัยและเรื่อนปลูกพืชทดลอง คณะเกษตร กำแพงแสน
มหาวิทยาลัยเกษตรศาสตร์ วิทยาเขตกำแพงแสน
โทร. 094-463-5614 E-mail: rdilnb@ku.ac.th
ผศ.ดร. จินตนา สและน้อย และคณะผู้วิจัย
ภาควิชาวิทยาศาสตร์ทางทะเล คณะประมง
มหาวิทยาลัยเกษตรศาสตร์
โทร. 081-207-0050 E-mail: ffisjid@ku.ac.th
อาจารย์พีระ อารีศรีสม
ภาควิชาเทคนิคการสัตวแพทย์ คณะเทคนิคสัตวแพทย์
มหาวิทยาลัยเกษตรศาสตร์
โทร. 096-876-5177 E-mail: pvettech@yahoo.com
กระบวนการบำบัดน้ำเสียไม่ว่าจะเป็นกระบวนการทางกายภาพ ทางเคมี หรือทางชีวภาพ ล้วนแล้วแต่ใช้พลังงานและทรัพยากรทั้งสิ้น ทำให้การบำบัดน้ำเสียนั้นมีต้นทุนที่สูง แต่จัดเป็นเรื่องที่สำคัญต่อคุณภาพสิ่งแวดล้อมเป็นอย่างมาก โดยเฉพาะน้ำเสียที่มีลักษณะย่อยสลายยาก ในขณะเดียวกันโลกกำลังเผชิญกับวิกฤติพลังงาน ในการหาแหล่งพลังงานทดแทน จึงกลายเป็นประเด็นที่สำคัญมากในปัจจุบัน เซลไฟฟ้าชีวภาพ (microbialfuel cell – MFC) เป็นเซลไฟฟ้าที่ผลิตไฟฟ้าโดยใช้อิเลกตรอนจากการย่อยสลายสารอบินทรีย์โดยแบคทีเรีย ซึ่งในธรรมชาติมีแบคทีเรียหลากหลายประเภทที่ใช้สารอินทรีย์เป็นแหล่งอาหาร และแหล่งพลังงานได้ เซลไฟฟ้าชีวภาพจัดเป็นแหล่งพลังงานทดแทนที่น่าสนใจ สารอินทรีย์หลากหลายประเภทสามารถใช้เป็นแหล่งอาหารของแบคทีเรียได้
Read moreวันเกษตรแห่งชาติ ประจำปี 2561 จัดขึ้นทุกๆ 4 ปี โดยปีนี้จัดขึ้นภายใต้แนวคิด “ร่วมกันก้าวไป เกษตรไทย 4.0” โดยรายการเกษตรศาสตร์นำไทย ขอนำเสนอผลงานวิจัยที่จัดแสดง ณ อาคารจักรพันธ์เพ็ญศิริ จำนวน 5 ผลงาน โดยมีผลงานดังนี้ 1. การใช้เชื้อรากำจัดผักตบชวา 2.ผลิตภัณฑ์เสริมอาหารจากน้ำมันจระเข้กระชายดำ 3.เทคนิคการบรรจุหมึกหอมที่มีชีวิตเพื่อการขนส่ง 4.การผลิตถ่านกัมมันต์ จากชานอ้อยเพื่อสิ่งแวดล้อม 5.เอนไซม์ขอดเกล็ดปลา
Read moreกาวน้ำผสมจากน้ำยางธรรมชาติ ซึ่งเป็นผลิตภัณฑ์กาวน้ำที่มีส่วนผสมของน้ำยางพาราจากธรรมชาติ คุณสมบัติมีความเหนียวที่ติดดี คุณภาพคงที่ ไม่มีตัวทำลายอินทรีย์ ก่อให้เกิดสารพิษ สามารถลดต้นทุนการนำเข้า และยังเป็นผลิตภัณฑ์กาวน้ำยางที่มีโปรตีนต่ำ ซึ่งจะลดความเสื่ยงในการแพ้โปรตีนจากกาวน้ำยางธรรมชาติ จัดเป็นเทคโนโลยีสีเขียว ที่เป็นมิตรกับสิ่งแวดล้อม
สอบถามได้ที่ ดร.วีรศักดิ์ สมิทธิพงศ์ ภาควิชาวัสดุศาสตร์ คณะวิทยาศาสตร์ มหาวิทยาลัยเกษตรศาสตร์ โทร.0-2942-8290