วัสดุดูดซับโลหะหนัก จากโฟมยางธรรมชาติ และผงไคโตซานที่ผ่านการฉายรังสีแกมมา
ฐิติวรรณ อินทะ ภาควิชารังสีประยุกต์และไอโซโทป
คณะวิทยาศาสตร์ มหาวิทยาลัยเกษตรศาสตร์
โทร. 06-2198-9877
ฐิติวรรณ อินทะ ภาควิชารังสีประยุกต์และไอโซโทป
คณะวิทยาศาสตร์ มหาวิทยาลัยเกษตรศาสตร์
โทร. 06-2198-9877
เมธี จันทโรปกรณ์ และคณะทีมวิจัย
ภาควิชาทรัพยากรและสิ่งแวดล้อม คณะวิทยาศาสตร์ ศรีราชา
มหาวิทยาลัยเกษตรศาสตร์ วิทยาเขตศรีราชา โทร. 08-5181-9166
เครื่องผลิตปุ๋ยหมัก ใช้ทำปุ๋ยหมักได้ง่าย ย่อยสลายเร็ว เพียงระยะเวลา 1 สัปดาห์ และสามารถเติมขยะอินทรีย์ลงถังหมักได้ทุกเวลา ตามปริมาณที่มีจนกว่าจะเต็มถัง ประหยัดพลังงาน อีกทั้งช่วยลดสภาวะโลกร้อน ติดต่อสอบถามได้ที่ ดร.ลักขณา เบ็ญจวรรณ์ ศูนย์ปฎิบัติการวิจัยและเรือนปลูกพืชทดลอง โทร.09-4463-5614
Read moreพลาสติกย่อยสลายได้จากแป้งกล้วย โดยการนำวัสดุธรรมชาติภายในประเทศมาใช้เป็นวัสดุบรรจุภัณฑ์ที่เป็นมิตรต่อสิ่งแวดล้อม ซึ่งกล้วยน้ำว้าเป็นพืชที่รับประทานกันทั่วไป และเป็นพืชที่ปลูกง่ายในทุกภาคของประเทศ สามารถนำกล้วยน้ำว้าดิบมาผลิตเป็นแป้งกล้วย จึงเป็นการเพิ่มมูลค่าให้กับกล้วย โดยนำแป้งกล้วยดิบและแป้งกล้วยดัดแปรด้วยวิธีครอสลิงแบบไดสตาร์ชฟอสเฟต (cross-linking method with distarch method) และส่วนประกอบอื่น ได้แก่ พลาสติไซเซอร์ และเส้นใยกาบกล้วยมามาเสริมความแข็งแรง รวมทั้งการนำพอลิแลกติกแอซิด (polylactic acid, PLA) เข้ามาร่วมเพื่อผลิตเป็นฟิล์ม จะช่วยเพิ่มประสิทธิภาพการป้องกันการแพร่ผ่านของไอน้ำ และเสริมความแข็งแรงให้กับวัสดุบรรจุภัณฑ์ สามารถนำไปผลิตเป็นวัสดุบรรจุภัณฑ์สำหรับอาหาร และผักผลไม้ ทดแทนบรรจุภัณฑ์จากพลาสติกสังเคราะห์ได้ เนื่องจากเป็นบรรจุภัณฑ์จากธรรมชาติ ไม่ก่อให้เกิดมลพิษต่อสิ่งแวดล้อม และสามารถย่อยสลายได้เองทางชีวภาพ ติดต่อได้ที่ รศ.ดร. รังสินี โสธรวิทย์ และทีมวิจัยภาควิชาวิศวกรรมการอาหาร คณะวิศวกรรมศาสตร์ กำแพงแสน มหาวิทยาลัยเกษตรศาสตร์ วิทยาเขตกำแพงแสน
Read more