ผลิตภัณฑ์เครื่องดื่มหมักจากมะพร้าว
ผลงานวิจัยโดยนายประมวล ทรายทอง นักวิจัย ฝ่ายจุลชีววิทยาประยุกต์ สถาบันค้นคว้าและพัฒนาผลิตภัณฑ์อาหาร โทร. 0 2942 8629-35 ต่อ 416
Read moreผลงานวิจัยโดยนายประมวล ทรายทอง นักวิจัย ฝ่ายจุลชีววิทยาประยุกต์ สถาบันค้นคว้าและพัฒนาผลิตภัณฑ์อาหาร โทร. 0 2942 8629-35 ต่อ 416
Read moreผลงานวิจัยโดย วนิดา เทวารุทธิ์ ชิติสรรค์กุล สถาบันค้นคว้าและพัฒนาผลิตภัณฑ์อาหาร โทร. 0-2942-8629
Read more รศ.ดร. รังสินี โสธรวิทย์ และ น.ส.ภัทราทิพย์ รอดสำราญ
ภาควิชาวิศวกรรมการอาหาร คณะวิศวกรรมศาสตร์ กำแพงแสน
มหาวิทยาลัยเกษตรศาสตร์ วิทยาเขตกำแพงแสน
โทร. 0-2942-8010 ต่อ 3522 Fax: 034-428-1098
E-mail: fengrns@ku.ac.th
โยเกิร์ตจากมะพร้าว เป็นผลิตภัณฑ์พร้อมดื่มในรูปแบบของเครื่องดื่มเพื่อสุขภาพ ทำจากมะพร้าวไม่มีคอเลสเตอรอล ไม่มีส่วนผสมของนม (Non-daily) เหมาะสำหรับผู้แพ้นม มีคุณค่าทางโภชนาการสูง ช่วยในเรื่องการขับถ่าย และเพิ่มประสิทธิภาพการทำงานในร่างกาย ดีต่อผู้รักสุขภาพ และผู้บริโภคมังสวิรัติ สามารถเก็บได้นานมากกว่า 20 วัน สอบถามได้ที่ อาจารย์ประมวล ทรายทอง สถาบันค้นคว้าและพัฒนาผลิตภัณฑ์อาหาร มหาวิทยาลัยเกษตรศาสตร์ โทร.0-2942-8629
Read moreโยเกิร์ตจากมะพร้าว (non-dairy) โยเกิร์ตจัดเป็นนมเปรี้ยว (fermented milk) ชนิดหนึ่งที่เกิดจากการนำนมจากสัตว์หรือส่วนประกอบของนมที่ผ่านการฆ่าเชื้อแล้วมาหมักด้วยเชื้อจุลินทรีย์ที่ไม่ทำให้เกิดโรคหรืออันตราย แล้วได้ค่าความเป็นกรดเพิ่มขึ้นและอาจปรุงแต่งกลิ่น รส สี หรือเติมวัตถุเจือปนอาหาร สารอาหาร หรือส่วนประกอบอื่นที่มิใช่น้ำนมด้วยก็ได้ โดยปกติโยเกิร์ตนั้นจะหมักด้วยแบคทีเรียกรดแลกติก (Lactic Acid Bacteria: LAB) ซึ่งทำให้ผลิตภัณฑ์ที่ได้มีรสเปรี้ยว โยเกิร์ตจะมีน้ำตาลเป็นองค์ประกอบอยู่ร้อยละ 7-10
Read moreรศ.ดร.รังสินี โสธรวิทย์ และ น.ส.ภัทราทิพย์ รอดสำราญ
ภาควิชาวิศวกรรมการอาหาร คณะวิศวกรรมศาสตร์ กำแพงแสน
มหาวิทยาลัยเกษตรศาสตร์ กำแพงแสน
นายประมวล ทรายทอง และ นางวนิดา เทวารุทธิ์ ชิติสรรค์กุล
สถาบันค้นคว้าและพัฒนาผลิตภัณฑ์อาหาร
มหาวิทยาลัยเกษตรศาสตร์
โดย รศ.ดร. จินดาวรรณ สิรันทวิเนติ
ภาควิชาสัตววิทยา คณะวิทยาศาสตร์
เครื่องสแกนมะพร้าวน้ำหอม ใช้เทคนิค Near Infrared (NIR) ซึ่งสามารถตรวจสอบได้รวดเร็ว แม่นยำ และไม่ทำลายตัวอย่างที่นำมาทดสอบหาคุณภาพของผลผลิต ซึ่งเครื่องสแกนมะพร้าวน้ำหอม สามารถคัดแยกกลุ่มชั้นเนื้อมะพร้าวได้ด้วยอัตราเร็ว 15 ผล/นาที หรือคิดเป็น 900 ผล/ชั่วโมงและให้ค่าความถูกต้องในการคัดแยกมากกว่า 85 % ซึ่งจะช่วยลดความสูญเสียจากการส่งออกที่ไม่ได้คุณภาพของผลผลิต สอบถามได้ที่ ผศ.ดร.รณฤทธิ์ ฤทธิรณ ภาควิชาวิศวกรรมการอาหาร คณะวิศวกรรมศาสตร์ กำแพงแสน มหาวิทยาลัยเกษตรศาสตร์ วิทยาเขตกำแพงแสน โทร.08-5917-1017
Read moreอีกหนึ่งผลงานจากการวิจัยที่น่าภาคภูมิใจของนักวิจัยมหาวิทยาลัยเกษตรศาสตร์ ในการแปรรูปมะพร้าวน้ำหอม เป็น ผงมะพร้าวน้ำหอม ผลิตภัณฑ์สำเร็จรูปพร้อมชง สามารถบริโภคได้สะดวก ทุกที่ ทุกเวลา รสชาติเข้มข้น ได้ทั้งเนื้อและน้ำมะพร้าว หอมอร่อย สดชื่น คงคุณค่าทางโภชนาการ ดีต่อสุขภาพ มะพร้าวน้ำหอม พืชเศรษฐกิจที่ปลูกกันมากในเขตภาคกลางฝั่งตะวันตก เช่น อำเภอสามพราน อำเภอบ้านแพ้ว และพื้นที่จังหวัดราชบุรี
Read more