การถ่ายทอดเทคโนโลยีและนวัตกรรมเพื่อการแปรรูปผลิตภัณฑ์มะพร้าวน้ำหอมตามมาตรฐานอาหารปลอดภัย
รศ. ดร.จินดาววรรณ สิรันทวิเนติ และคณะภาควิชาสัตววิทยา คณะวิทยาศาสตร์ มหาวิทยาลัยเกษตรศาสตร์โทร. 02-562-5555 ต่อ 647824 E-mail: fscijws@ku.ac.thอ
Read moreรศ. ดร.จินดาววรรณ สิรันทวิเนติ และคณะภาควิชาสัตววิทยา คณะวิทยาศาสตร์ มหาวิทยาลัยเกษตรศาสตร์โทร. 02-562-5555 ต่อ 647824 E-mail: fscijws@ku.ac.thอ
Read moreรศ.ดร.จินดาวรรณ สิรันทวิเนติ
ภาควิชาสัตววิทยา คณะวิทยาศาสตร์
มหาวิทยาลัยเกษตรศาสตร์ โทร.08-1376-2006
โดย รศ.ดร. จินดาวรรณ สิรันทวิเนติ
ภาควิชาสัตววิทยา คณะวิทยาศาสตร์
เครื่องสแกนมะพร้าวน้ำหอม ด้วยระบบ Near Infrared (NIR) โดยการใช้เทคนิคที่รวดเร็ว แม่นยำ และไม่ทำลายผลผลิต ซึ่งเครื่องนี้สามารถวิเคราะห์จำนวนชั้นเนื้อของมะพร้าวอ่อน และช่วยลดความเสี่ยงในการส่งออกมะพร้าวที่มีชั้นเนื้อไม่ได้ตามเกณฑ์ไปยังผู้บริโภค อีกทั้งยังช่วยลดความสูญเสียจากการแตกของมะพร้าวในระหว่างการขนส่ง ซึ่งเกิดจากการส่งออกมะพร้าวที่อ่อนเกินไป นอกจากนี้ยังเป็นการเพิ่มมูลค่าของมะพร้าวที่มีชั้นเนื้อเหมาะสม และลด/กำจัดการปฎิเสธสินค้าที่ต่ำกว่ามาตรฐานของผู้ประกอบการได้อีกด้วย สอบถามได้ที่ ผศ.ดร.รณฤทธิ์ ฤทธิรณ ห้องปฏิบัติการ Near Infrared ภาควิชาวิศวกรรมการอาหาร คณะวิศวกรรมศาสตร์ กำแพงแสน มหาวิทยาลัยเกษตรศาสตร์ โทร. 085-9171017
Read moreอีกหนึ่งผลงานจากการวิจัยที่น่าภาคภูมิใจของนักวิจัยมหาวิทยาลัยเกษตรศาสตร์ ในการแปรรูปมะพร้าวน้ำหอม เป็น ผงมะพร้าวน้ำหอม ผลิตภัณฑ์สำเร็จรูปพร้อมชง สามารถบริโภคได้สะดวก ทุกที่ ทุกเวลา รสชาติเข้มข้น ได้ทั้งเนื้อและน้ำมะพร้าว หอมอร่อย สดชื่น คงคุณค่าทางโภชนาการ ดีต่อสุขภาพ มะพร้าวน้ำหอม พืชเศรษฐกิจที่ปลูกกันมากในเขตภาคกลางฝั่งตะวันตก เช่น อำเภอสามพราน อำเภอบ้านแพ้ว และพื้นที่จังหวัดราชบุรี
Read moreรศ.ดร. จินดาวรรณ สิรันทวิเนติ (ภาควิชาสัตววิทยา คณะวิทยาศาสตร์), อาจารย์ ดร. ณภัทร กำธรสิริวิมล (ภาควิชาเกษตรกลวิธาน คณะเกษตร กำแพงแสน), ดร. สุดาวรรณ เชยชมศรี (ศูนย์ปฏิบัติการวิจัยและเรือนปลูกพืชทดลอง ศูนย์วิจัยและบริการวิชาการ คณะเกษตร กำแพงแสน) และ
Read moreอาจารย์/นักวิจัยจากมหาวิทยาลัยเกษตรศาสตร์ ได้รับรางวัล “IP Fair Pitching 2017 Winner”
Read moreมะพร้าวเป็นพืชยืนต้นตระกูลเดียวกับปาล์มส่วนประกอบของมะพร้าวสามารถใช้ประโยชน์ได้หลายอย่าง เช่น น้ำและเนื้อมะพร้าวอ่อนใช้รับประทาน เนื้อในผลแก่นำไปขูดและคั้นทำกะทิ ส่วนกะลานำไปประดิษฐ์สิ่งของต่างๆ เช่น โคมไฟกะลามะพร้าว ทัพพีกะลามะพร้าว ของเล่น งานฝีมือต่างๆ เป็นต้น นอกจากนี้คนโบราณยังเชื่อว่ามะพร้าวเป็นไม้มงคลยังอีกด้วย
Read more