งานเกษตรกำแพงแสน ครั้งที่ 26 (โซน นิทรรศการวิจัย นวัตกรรม และบริการวิชาการ)
งานเกษตรกำแพงแสน ครั้งที่ 26 (โซนนิทรรศการวิจัย นวัตกรรม และบริการวิชาการ )
“เกษตรศาสตร์ กำแพงแสน ดินแดนแห่งนวัตกรรม มุ่งพัฒนาเกษตรไทย สู่เกษตรแนวใหม่ที่ยั่งยืน”
งานเกษตรกำแพงแสน ครั้งที่ 26 (โซนนิทรรศการวิจัย นวัตกรรม และบริการวิชาการ )
“เกษตรศาสตร์ กำแพงแสน ดินแดนแห่งนวัตกรรม มุ่งพัฒนาเกษตรไทย สู่เกษตรแนวใหม่ที่ยั่งยืน”
ฝ่ายสารสนเทศ สำนักหอสมุด มหาวิทยาลัยเกษตรศาสตร์โทร. 0 2942 8616 ต่อ 331-346
Read moreสถาบันวิจัยและพัฒนาแห่งมหาวิทยาลัยเกษตรศาสตร์ ติดตามประเมินผลและเยี่ยมชมผลการดำเนินงานโครงการวิจัย กลุ่ม จีโนมพันธุกรรมสัตว์เลื้อยคลานและสัตว์น้ำ โดยมีผลงานวิิจัยดังต่อไปนี้ การศึกษาความผิดปกติของจระเข้สยามด้วยวิธีการเปรียบเทียบพันธุกรรมในระดับจีโนม ทรานส์คริปโตมและการพัฒนาเครื่องหมายชีวภาพของจระเข้ในโรงเพาะฟัก เครื่องหมายดีเอ็นเอสำหรับบ่งชี้จระเข้สยาม (จระเข้น้ำเค็มและลูกผสม) และการทำฐานข้อมูล DNA profile ของจระเข้ที่เพาะเลี้ยงในฟาร์ม โดย ผศ.ครศร ศรีกุลนาถ ภาควิชาพันธุศาสตร์ คณะวิทยาศาสตร์ มหาวิทยาลัยเกษตรศาสตร์
Read moreผลงานของมหาวิทยาลัยเกษตรศาสตร์ที่สามารถพัฒนาเป็นนวัตกรรมของหน่วยงาน เพื่อใช้ประกอบการชี้แจงงบประมาณและเผยแพร่ผลงานวิจัย
Read moreนักวิจัย ม.เกษตร ทำการศึกษาความหลากหลายทางชีวภาพของเห็ดกินได้และศึกษาปัจจัยแวดล้อมที่มีอิทธิพลต่อผลิตผลของเห็ดกินได้ในป่าธรรมชาติ ซึ่งองค์ความรู้ที่ได้จะเป็นแนวทางในการพัฒนาพื้นที่ป่าเสื่อมโทรมให้เป็นแปลงสาธิตการเพาะเห็ดป่ากินได้ ซึ่งจะนำไปสู่การใช้ประโยชน์บนพื้นฐานของศักยภาพทรัพยากรความหลากหลายทางชีวภาพของเห็ดระดับชุมชน และเพิ่มพูนทางเศรษฐกิจระดับชุมชนจากการเก็บผลผลิตของเห็ดป่า เห็ด มีความสำคัญในการย่อยสลายอินทรียสารให้เป็นแร่ธาตุ นอกจากประโยชน์มีต่อระบบนิเวศแล้ว เห็ดป่าหลายชนิดยังเป็นเห็ดที่กินได้และบางชนิดมีมูลค่าทางเศรษฐกิจสูง ปัจจัยแวดล้อมหลายปัจจัยยังที่มีอิทธิพลต่อปริมาณการเกิดของเห็ด ทำให้ไม่สามารถคาดการณ์ปริมาณของเห็ดในแต่ละปีได้ ดร.ธารรัตน์ แก้วกระจ่าง ภาควิชาชีววิทยาป่าไม้ คณะวนศาสตร์ มหาวิทยาลัยเกษตรศาสตร์ จึงได้ทำการทำการศึกษาความหลากหลายทางชีวภาพของเห็ดกินได้และศึกษาปัจจัยแวดล้อมที่มีอิทธิพลต่อผลิตผลของเห็ดกินได้ในป่าธรรมชาติ จากการสำรวจเห็ดกินได้ในป่าเต็งรังและป่าดิบแล้งบริเวณสถานีวิจัยสิ่งแวดล้อมสะแกราช จ.นครราชสีมา
Read moreนักวิจัย ม.เกษตร พัฒนาผนังเขียวหรือสวนแนวตั้ง เพื่อช่วยลดภาวะเกาะความร้อนในเมือง ดูดซับคาร์บอนไดออกไซด์ หรือเพียงเพื่อทำให้เมืองสดชื่น ศึกษาคุณสมบัติในการป้องกันความร้อน ผนังเขียวหรือสวนแนวตั้ง เป็นแนวทางที่เริ่มเป็นที่นิยมแพร่หลายในเมืองที่หนาแน่นในต่างประเทศมีผู้คิดค้นนวัตกรรมผนังเขียวหลายรูปแบบในเชิงพาณิชย์ สามารถปลูกต้นไม้ในระนาบผนังได้ผลดีในฝรั่งเศส ญี่ปุ่น สหรัฐอเมริกา แคนาดา สิงคโปร์ มีการนำเข้ามาใช้ในประเทศไทยด้วยราคาสูงมาก รศ.พาสินี สุนากร จากภาควิชานวัตกรรมอาคาร คณะสถาปัตยกรรมศาสตร์ มหาวิทยาลัย
Read moreสถาบันวิจัยและพัฒนาแห่ง มก. ขอแสดงความยินดี ศาสตราจารย์ ดร.อภิชาติ วรรณวิจิตร ภาควิชาพืชไร่นา คณะเกษตร กำแพงแสน ที่ได้รับรางวัลผลงานวิจัยที่สร้างผลกระทบ ปี 2559 ระดับ PLATINUM เรื่อง ข้าวไรซ์เบอร์รี่ : ต้นแบบการใช้นวัตกรรมเพื่อพัฒนาผลิตภัณฑ์อาหาร จากมหาวิทยาลัยเกษตรศาสตร์
Read moreมหาวิทยาลัยเกษตรศาสตร์ โดยคณะกรรมการพิจารณารางวัลสำหรับผลงานวิจัยมหาวิทยาลัยเกษตรศาสตร์ ได้ดำเนินการพิจารณารางวัลฯ ปี 2559 เป็นที่เรียบร้อยแล้ว เพื่อเป็นการยกย่องเชิดชูเกียรติและร่วมแสดงความยินดีกับอาจารย์ นักวิจัย และหน่วยงานที่ได้รับรางวัลฯ ตลอดจนเป็นเวทีในการแลกเปลี่ยนเรียนรู้ เสริมสร้างวิสัยทัศน์ และประสบการณ์ รวมถึงแนวทางในการพัฒนางานวิจัยของมหาวิทยาลัยเกษตรศาสตร์ คณะกรรมการฯ จึงได้กำหนดจัดงานมอบรางวัลผลงานวิจัยมหาวิทยาลัยเกษตรศาสตร์ ปี 2559 ในวันศุกร์ที่ 1 มิถุนายน
Read moreรศ.ดร.ธงชัย สุวรรณสิชณน์ ผู้อำนวยการ สวพ.มก. พร้อมคณะกรรมการร่วมประชุมพิจารณารางวัลผลงานวิจัยตีพิมพ์ระดับนานาชาติ และผลงานวิจัยที่สร้างผลกระทบมหาวิทยาลัยเกษตรศาสตร์ ณ ห้องประชุมไพลิน อาคารสุวรรณวาจกกสิกิจ
Read moreวันที่ 25-26 พฤศจิกายน 2558 รศ.ดร. วิรัตน์ วาณิชย์ศรีรัตนา รองผู้อำนวยการฝ่ายประสานงานวิจัย สถาบันวิจัยและพัฒนาแห่ง มก. กล่าวเปิดอบรมเชิงปฏิบัติการ “การจัดเตรียมต้นฉบับผลงานวิจัยเพื่อตีพิมพ์ในวารสารวิชาการนานาชาติ ครั้งที่ 7 (The 7th Workshop to Assist Authors to
Read more