การผลิตกรดอิทาโคนิกจากทะลายปาล์มน้ำมัน
ดร.อันธิกา บุญแดง
สถาบันค้นคว้าและพัฒนาผลิตผลทางการเกษตรและอุตสาหกรรมเกษตร
มหาวิทยาลัยเกษตรศาสตร์
โทร. 0-2942-8600-3 E-mail: aapakb@ku.ac.th
ดร.อันธิกา บุญแดง
สถาบันค้นคว้าและพัฒนาผลิตผลทางการเกษตรและอุตสาหกรรมเกษตร
มหาวิทยาลัยเกษตรศาสตร์
โทร. 0-2942-8600-3 E-mail: aapakb@ku.ac.th
ผลงานวิจัยโดย ดร.ชินธันย์ อารีประเสริฐ ภาควิชาวิศวกรรมเครื่องกล คณะวิศวกรรมศาสตร์ มหาวิทยาลัยเกษตรศาสตร์ โทร.0-2797-0999
Read moreรศ.ดร.วิทยา ปั้นสุวรรณ และคณะผู้วิจัย
ภาควิชาเคมี คณะวิทยาศาสตร์
มหาวิทยาลัยเกษตรศาสตร์
เครื่องลำเลียงทะลายปาล์มน้ำมันชนิดผ่อนแรง มีลักษณะการใช้งานที่ง่าย และปลอดภัย ใช้ผู้ปฏิบัติงานร่วมกับเครื่องฯ เพียง 1คน พร้อมลำเลียง และรักษาคุณภาพของทะลายปาล์มน้ำมันให้อยู่ในสภาพที่ดีขณะถูกลำเลียง สอบถามได้ที่ อาจารย์ ดร.ปิยะพงษ์ ศรีวงษ์ราช และนายชัยพล จากยางโทน นิสิตปริญญาตรี และทีมผู้วิจัย ภาควิชาเกษตรกลวิธาน คณะเกษตร มหาวิทยาลัยเกษตรศาสตร์ โทร.0-2561-3482
Read moreปาล์มน้ำมันเป็นพืชที่ให้ผลผลิตน้ำมันสูง เหมาะสมกับสภาพอากาศร้อนชื้น และเจริญเติบโตได้ดีในบริเวณเส้นศูนย์สูตร ปาล์มน้ำมันจึงเจริญเติบโตได้ดีในภาคใต้ของประเทศไทย อุตสาหกรรมปาล์มน้ำมันสามารถใช้ประโยชน์จากเส้นใยที่ได้จากส่วนของทะลายปาล์ม เปลือกผล และกาบใบ เมื่อนำผลทะลายปาล์มมาแยกส่วนต่างๆ ออกจะได้ ผลสด และทะลายเปล่า ในแต่ละปีจะมีทะลายเปล่าแห้งเป็นวัสดุเหลือทิ้งจำนวนมาก และยังมีการนำไปใช้ประโยชน์น้อยมาก จึงมีการนำทะลายปาล์มเปล่ามาผลิตเป็นเยื่อเพื่อใช้ทำกระดาษหัตถกรรมหรือกระดาษพื้นบ้านทดแทนวัตถุดิบอย่างเปลือกปอสาซึ่งต้องนำเข้าจากต่างประเทศ ซึ่งมีเกษตรกรสนใจจำนวนมากแต่ยังติดปัญหาที่หม้อต้มเยื่อความดันมีราคาแพงมากและอันตราย จึงเป็นที่มาของการศึกษาการใช้ประโยชน์จากทะลายปาล์มน้ำมันโดยวิธีฟอกขาวแทนการใช้หม้อต้มความดัน โดยคุณวุฒินันท์ คงทัด และผู้ร่วมวิจัย ดร.สุธีรา วิทยากาญจน์ และ ดร.รังสิมา ชลคุป จากสถาบันค้นคว้าและพัฒนาผลิตผลทางการเกษตรและอุตสาหกรรมเกษตร โดยนำเส้นใยทะลายปาล์มน้ำมัน มาวิเคราะห์องค์ประกอบทางเคมี สัณฐานของเส้นใย หาวิธีการผลิตเยื่อโดยการฟอกขาว ปรับปรุงสมบัติเชิงกลของกระดาษโดยการผสมเยื่อปอสาและเคลือบด้วยสารละลายกลูโคแมนแนน ศึกษาต้นทุนการผลิตเบื้องต้นและทดสอบสมบัติเชิงกลของกระดาษที่ผลิตได้ตามวิธีมาตรฐานของ TAPPI
Read moreวันที่ 9 ก.ค. 2558 สถาบันวิจัยและพัฒนาแห่งมหาวิทยาลัยเกษตรศาสตร์ จัดประชุมเพื่อพัฒนาข้อเสนอการวิจัยเชิงนโยบายในอุตสาหกรรมอ้อย ปาล์มน้ำมัน ณ ห้องประชุมทับทิม อาคารสุวรรณวาจกกสิกิจ สถาบันวิจัยและพัฒนาแห่ง มก.
Read moreสำนักงานพัฒนาการวิจัยการเกษตร เล็งเห็นว่าโครงการมีความน่าสนใจ ผลที่ได้รับจากโครงการ คือ เครื่องต้นแบบ Near Infrared (NIR) spectrometer เป็นผลงานของ ผศ.ดร.รณฤทธิ์ ฤทธิรณ ภาควิชาวิศวกรรมการอาหาร คณะวิศวกรรมศาสตร์ กำแพงแสน
Read moreสำนักงานคณะกรรมการวิจัยแห่งชาติ (วช) ได้มีการจัดการประกวดนวัตกรรมมุ่งเป้า (ข้าว มันสำปะหลัง ยางพารา อ้อย และปาล์มน้ำมัน) ประจำปี 2556 และใคร่ขอเชิญนิสิต นักศึกษา อาจารย์ นักประดิษฐ์ นักวิจัย และบุคคลทั่วไปทั้งภาครัฐและภาคเอกชน ที่มีความสนใจด้านการประดิษฐ์คิดค้น ร่วมประกวดผลงานนวัตกรรมในโครงการดังกล่าว ตั้งแต่บัดนี้เป็นต้นไป จนถึงวันที่
Read more