น้ำมันปาล์มดิบเกรดพรีเมียมสู่ผลิตภัณฑ์เพื่อสุขภาพ
นายวิทยา ปั้นสุวรรณนางสาวรยากร นกแก้วนางสาวมัลลิกา ตะพานวงศ์นายไพโรจน์ ภู่ต้องศูนย์ความเป็นเลิศทางวิชาการด้านปาล์มน้ำมันมหาวิทยาลัยเกษตรศาสตร์ โทร. 08-9152-0630
Read moreนายวิทยา ปั้นสุวรรณนางสาวรยากร นกแก้วนางสาวมัลลิกา ตะพานวงศ์นายไพโรจน์ ภู่ต้องศูนย์ความเป็นเลิศทางวิชาการด้านปาล์มน้ำมันมหาวิทยาลัยเกษตรศาสตร์ โทร. 08-9152-0630
Read moreโรงหีบน้ำมันปาล์มดิบขนาดเล็กใช้ผลปาล์มร่วงจากลานเทที่มีคุณภาพไม่ได้มาตรฐานเป็นวัตถุดิบในการผลิตน้ำมัน รวมทั้งใช้อุณหภูมิในการอบผลปาล์มสูงเกิน 100°C และใช้เวลาในการอบนาน 14-16 ชม. จึงทำให้น้ำมันปาล์มดิบที่ผลิตได้เป็นน้ำมันปาล์มดิบเกรดบีที่มีค่ากรดไขมันอิสระสูงกว่า 5% และมีค่าโดบี้ต่ำกว่า 2 ทำให้ราคาซื้อขายของน้ำมันปาล์มดิบเกรดบีต่ำกว่าน้ำมันปาล์มดิบเกรดเอ ดังนั้นผู้วิจัยจึงแก้ปัญหาด้วยการใช้ทะลายปาล์มสุกแทนผลปาล์มร่วงและใช้ความร้อนจากไมโครเวฟในการช่วยปลิดผลปาล์มออกจากช่อปาล์ม รวมทั้งช่วยเพิ่มค่าโดบี้ ลดค่ากรดไขมันอิสระ และลดค่าความชื้นในผลปาล์ม ซึ่งจะใช้ระยะเวลาในการอบด้วยไมโครเวฟไม่เกิน 15 นาที หลังจากนั้นผลปาล์มที่ได้จะนำไปอบต่อด้วยลมร้อนที่อุณหภูมิ 80°C
Read moreรศ.ดร.วิทยา ปั้นสุวรรณ และคณะผู้วิจัย
ภาควิชาเคมี คณะวิทยาศาสตร์
มหาวิทยาลัยเกษตรศาสตร์
ปาล์มน้ำมันเป็นพืชที่ให้ผลผลิตน้ำมันสูง เหมาะสมกับสภาพอากาศร้อนชื้น และเจริญเติบโตได้ดีในบริเวณเส้นศูนย์สูตร ปาล์มน้ำมันจึงเจริญเติบโตได้ดีในภาคใต้ของประเทศไทย อุตสาหกรรมปาล์มน้ำมันสามารถใช้ประโยชน์จากเส้นใยที่ได้จากส่วนของทะลายปาล์ม เปลือกผล และกาบใบ เมื่อนำผลทะลายปาล์มมาแยกส่วนต่างๆ ออกจะได้ ผลสด และทะลายเปล่า ในแต่ละปีจะมีทะลายเปล่าแห้งเป็นวัสดุเหลือทิ้งจำนวนมาก และยังมีการนำไปใช้ประโยชน์น้อยมาก จึงมีการนำทะลายปาล์มเปล่ามาผลิตเป็นเยื่อเพื่อใช้ทำกระดาษหัตถกรรมหรือกระดาษพื้นบ้านทดแทนวัตถุดิบอย่างเปลือกปอสาซึ่งต้องนำเข้าจากต่างประเทศ ซึ่งมีเกษตรกรสนใจจำนวนมากแต่ยังติดปัญหาที่หม้อต้มเยื่อความดันมีราคาแพงมากและอันตราย จึงเป็นที่มาของการศึกษาการใช้ประโยชน์จากทะลายปาล์มน้ำมันโดยวิธีฟอกขาวแทนการใช้หม้อต้มความดัน โดยคุณวุฒินันท์ คงทัด และผู้ร่วมวิจัย ดร.สุธีรา วิทยากาญจน์ และ ดร.รังสิมา ชลคุป จากสถาบันค้นคว้าและพัฒนาผลิตผลทางการเกษตรและอุตสาหกรรมเกษตร โดยนำเส้นใยทะลายปาล์มน้ำมัน มาวิเคราะห์องค์ประกอบทางเคมี สัณฐานของเส้นใย หาวิธีการผลิตเยื่อโดยการฟอกขาว ปรับปรุงสมบัติเชิงกลของกระดาษโดยการผสมเยื่อปอสาและเคลือบด้วยสารละลายกลูโคแมนแนน ศึกษาต้นทุนการผลิตเบื้องต้นและทดสอบสมบัติเชิงกลของกระดาษที่ผลิตได้ตามวิธีมาตรฐานของ TAPPI
Read moreเมื่อวันที่ 16 ม.ค.58 สำนักงานพัฒนาการวิจัยการเกษตร (องค์การมหาชน) หรือ สวก. จัดงานประกาศเกียรติคุณรางวัลเกียรติยศ “ผลงานเด่น สวก.” แก่คณะวิจัยที่มีผลงานยอดเยี่ยม รวม 10 รางวัล ที่โรงแรมรามาการ์เด้นส์ กรุงเทพฯ ทั้งนี้มีผลงานจากนักวิจัยมหาวิทยาลัยเกษตรศาสตร์ 3 เรื่อง ได้แก่ 1.โครงการการพัฒนาเทคโนโลยีการผลิตข้าวนึ่งกล้องเริ่มงอกเพื่อเป็นผลิตภัณฑ์อาหารที่มีคุณค่าทางโภชนาการ
Read moreสำนักงานคณะกรรมการวิจัยแห่งชาติ (วช.) ได้มีกำหนดจัดงาน “วันนักประดิษฐ์” ประจำปี 2557 ภายใต้หัวข้อ “Innovation for Mankind” ในระหว่างวันที่ 23 – 26 มิถุนายน 2557 ณ อิมแพ็ค ฟอรั่ม เมืองทองธานี
Read more