เทคนิคการบรรจุหมึกหอมที่มีชีวิตเพื่อการขนส่ง
โดย ผศ. ดร. จรวย สุขแสงจันทร์
ภาควิชาวิทยาศาสตร์ทางทะเล
คณะประมง
โดย ผศ. ดร. จรวย สุขแสงจันทร์
ภาควิชาวิทยาศาสตร์ทางทะเล
คณะประมง
ปลาหมึกเป็นอาหารที่นิยมในการบริโภคเป็นอย่างมาก แต่ปัจจุบันอาหารทะเล ไม่มีการนำปลาหมึกเป็นๆ มาจำหน่ายหรือผู้บริโภค เหมือนสัตว์อื่นๆ เนื่องจากยังไม่มีการดูแลหรือบรรจุปลาหมึกที่มีชีวิต มหาวิทยาลัยเกษตรศาสตร์ จึงนำเทคนิคการบรรจุหมึกหอมที่มีชีวิตเพื่อการขนส่ง เพราะนอกจากจะทำให้ผู้บริโภคได้บริโภคของที่มีคุณภาพ ยังช่วยเพิ่มมูลค่าให้สินค้าสัตว์ ตลอดจนเทคนิคการขนส่งหมึกหมอที่มีชีวิต ไปเลี้ยงต่อ aquarium เพื่อเป็นสัตว์เลี้ยงสวยงาม สอบถามได้ที่ ผศ.ดร.จรวย สุขแสงจันทร์ คุณกัญญภา เลิศอิทธิเวช คุณสนธยา ผุยน้อย คณะประมง มหาวิทยาลัยเกษตรศาสตร์ โทร.08-1554-4221
Read moreผศ.ดร.จรวย สุขแสงจันทร์ และทีมวิจัย ประกอบด้วยน.ส.กัญญภา เลิศอิทธิเวช และน.ส.สนธยา ผุยน้อย จากภาควิชาวิทยาศาสตร์ทางทะเล คณะประมง มหาวิทยาลัยเกษตรศาสตร์ทำการศึกษาหาเทคนิคการบรรจุหมึกหอมที่มีชีวิตเพื่อการขนส่ง เพราะนอกจากจะทำให้ผู้บริโภคได้บริโภคสินค้าที่มีคุณภาพ ได้ อาหารทะเลที่มั่นใจในความสดใหม่ ไม่มีสารเคมีปนเปื้อนแล้ว ยังมีส่วนช่วยเพิ่มมูลค่าให้สินค้าสัตว์น้ำ
Read moreปืนตรวจวัดการปนเปื้อนฟอร์มาลีนในอาหาร ใช้เทคโนโลยีก็าซเซนเซอร์ดมกลิ่นสารฟอร์มาลินทำงานได้รวดเร็ว ไม่อาศัยสารเคมี วัดซ้ำไปซ้ำมาได้ ไม่มีสารเคมีของเสีย ไม่สัมผัสกับวัสดุทดสอบ และสามารถบ่งบอกค่าปริมาณที่ชัดเจนเป็นตัวเลข ซึ่งการตรวจวัดการปนเปื้อนในอาหารทุกชนิดทั้งของแข็งและของเหลว โดยมีค่าการตรวจวัดตั้งแต่ 0-12 ppm ระยะในการตรวจวัดสามารถวัดห่างจากสารตัวอย่างประมาณ 15 เซนติเมตร และใช้เวลาการวิเคราะห์ผลน้อยกว่า 12 วินาที สอบถามได้ที่ ผศ.ดร.ชัชวาล วงศ์ชูสุข ภาควิชาฟิสิกส์ คณะวิทยาศาสตร์ มหาวิทยาลัยเกษตรศาสตร์ โทร. 0-2562-5555 ต่อ 3008
Read moreปืนตรวจวัดการปนเปื้อนฟอร์มาลีนในอาหาร โดยการอาศัยก็าซเซนเซอร์ที่มีโครงสร้างเป็นวัสดุนาโน โดยเครื่องมือที่จะสร้างขึ้นจะมีข้อดีกว่าวิธีทดสอบปัจจุบัน คือ รวดเร็ว ไม่อาศัยสารเคมี วัดซ้ำไปซ้ำมาได้โดยไม่มีสารเคมีของเสีย (Chemical Waste) ไม่สัมผัสกับวัสดุทดสอบและสามารถบ่งบอกค่าปริมาณที่ชัดเจนเป็นตัวเลขได้ สอบถามได้ที่ ผศ.ดร.ชัชวาล วงศ์ชูสุข ภาควิชาฟิสิกส์ คณะวิทยาศาสตร์มหาวิทยาลัยเกษตรศาสตร์ โทร.08-6706-1269
Read moreเรื่อง การใช้ไฟ LED สีต่างๆ เพื่อล่อปลาหมึกหอม ประเทศไทยมีการทำประมงโดยการอาศัยแสงไฟมาเป็นระยะเวลานาน ซึ่งในอดีตประมาณ 30–40 ปีที่ผ่านมา ของการทำประมงโดยกยารใช้แสงไฟล่อสัตว์น้ำ ชาวประมงนิยมใช้ตะเกียงแก๊สอะแซสทิลีน ต่อมาได้เปลี่ยนเป็นตะเกียงอัดลมโดยใช้น้ำมันก๊าด หรือที่ชาวบ้านเรียกว่า ตะเกียงจ้าวพายุ ซึ่งตะเกียงดังกล่าวมีกำลังส่องสว่างถึง 500 วัตต์ และในยุคต่อมาได้มีการนำเอาเครื่องปั่นไฟไปติดตั้งในเรือและได้รับความนิยมจนถึงปัจจุบัน ปลาหมึกจัดเป็นสัตว์น้ำที่อาศัยอยู่ในโลกมานานกว่า 500 ล้านปี
Read more