องค์ความรู้เพื่อแก้ไขปัญหาโรคไวรัสทิลาเปียเลคในปลานิลอย่างยั่งยืน

ปลานิลเป็นปลาที่มีการเพาะเลี้ยงมากที่สุดของประเทศไทย คิดเป็นมูลค่าประมาณ 10,000 ล้านบาทต่อปี และยังถูกเพาะเลี้ยงมากเป็นอันดับสองของโลก มูลค่าประมาณปีละ 7,000 ล้านเหรียญสหรัฐ แม้ปลานิลจะเป็นปลาที่เลี้ยงได้ง่ายและทนต่อสภาพการเลี้ยงหลากหลาย แต่การเลี้ยงที่เพิ่มมากขึ้นและการเปลี่ยนแปลงของสภาพแวดล้อม ทำให้เกิดโรคอุบัติใหม่ทั้งจากแบคทีเรียและไวรัสที่สร้างผลกระทบต่อการผลิตปลานิล ผลงานวิจัยนี้เป็นการศึกษาโรคไวรัสอุบัติใหม่ เรียกว่า โรคไวรัสทิลาเปียเลค (Tilapia Lake Virus Disease: TiLVD) ซึ่งเกิดจากเชื้อไวรัส

Read more

แอปพลิเคชั่น นิล 4.0 เวอร์ชั่น 2

รศ.ดร.วราห์ เทพาหุดี
ภาควิชาเพาะเลี้ยงสัตว์น้ำ คณะประมง มหาวิทยาลัยเกษตรศาสตร์
โทร. 0-2579-2924 E-mail: ffiswrt@ku.ac.th

Read more

องค์ความรู้เพื่อแก้ไขปัญหาโรคไวรัสทิลาเปียเลคในปลานิลอย่างยั่งยืน

รศ.น.สพ.ดร.วิน สุรเชษฐพงษ์ และ นางสาวปุณธนาฒย์ ทัตติยพงศ์
ภาควิชาจุลชีววิทยาและวิทยาภูมิคุ้มกัน คณะสัตวแพทยศาสตร์ มหาวิทยาลัยเกษตรศาสตร์
โทร. 089-9006-117 E-mail: fvetws@ku.ac.th

Read more

สวพ.มก. ขอเชิญชวนอาจารย์/นักวิจัย เข้าร่วมประชุมระดมความคิดเห็น เรื่อง การวิจัยนวัตกรรมเพื่อเพิ่มศักยภาพในการผลิตและการตลาดสัตว์น้ำเศรษฐกิจ (ปลานิล ปลาดุก ปลากะพงขาว) ของประเทศไทย

สวพ.มก. ขอเชิญชวนอาจารย์นักวิจัย มก.  ลงทะเบียนร่วมประชุม Online (Webex meeting) ระดมความคิดเห็นเกี่ยวกับประเด็นงานวิจัยที่สำคัญของ มก. เรื่อง การวิจัยนวัตกรรมเพื่อเพิ่มศักยภาพในการผลิตและการตลาดสัตว์น้ำเศรษฐกิจ (ปลานิล ปลาดุก ปลากะพงขาว) ของประเทศไทย วันที่ 11 กันยายน 2563 เวลา

Read more

ปลาของพ่อ สินทรัพย์ของแผ่นดิน: : ความเสี่ยงในอุตสาหกรรมการเพาะเลี้ยงปลานิลที่เลี่ยงได้

ดร.ประพันธ์ศักดิ์ ศีรษะภูมิ และ ผศ.ดร.อิสริยา วุฒิสินธุ์
ภาควิชาเพาะเลี้ยงสัตว์น้ำ คณะประมง
มหาวิทยาลัยเกษตรศาสตร์

Read more

ปลาของพ่อ สินทรัพย์ของแผ่นดิน: ความเสี่ยงในอุตสาหกรรมการเพาะเลี้ยงปลานิลที่เลี่ยงได้

ดร.ประพันธ์ศักดิ์ ศีรษะภูมิ และ ผศ.ดร.อิสริยา วุฒิสินธุ์
ภาควิชาเพาะเลี้ยงสัตว์น้ำ คณะประมง
มหาวิทยาลัยเกษตรศาสตร์

Read more

ปลาของพ่อ สินทรัยพ์ของแผ่นดิน

ดร.ประพันธ์ศักดิ์ ศีรษะภูมิ และ ผศ.ดร.อิสริยา วุฒิสินธุ์
ภาควิชาเพาะเลี้ยงสัตว์น้ำ คณะประมง
มหาวิทยาลัยเกษตรศาสตร์

Read more

วัคซีนป้องกันไวรัสชนิดใหม่ในปลานิลและปลานิลแดง

ผศ.น.สพ.ดร.วิน สุรเชษฐพงษ์ อาจารย์ประจำภาควิชาจุลชีววิทยาและวิทยาภูมิคุ้มกัน คณะสัตวแพทยศาสตร์ มหาวิทยาลัยเกษตรศาสตร์ และคณะผู้วิจัย ได้ทำการศึกษาสาเหตุของปัญหาโรคตายเดือน โดยนำตัวอย่างปลาที่มีอาการตายเดือนมาตรวจวิเคราะห์ ทำให้ทราบว่าเชื้อที่ก่อโรคตายเดือน เป็น “ไวรัสชนิดใหม่” ที่เรียกว่า Tilapia Lake Virus (TiLV)

Read more

การเลี้ยงปลานิลในพื้นที่ดินเค็ม

ผศ.ดร.เกตุนภัส ศรีไพโรจน์ และ อาจารย์สิทธิชัย ฮะทะโชติอ อาจารย์ประจำสาขาทรัพยากรเกษตรชีวภาพ คณะทรัพยากรธรรมชาติและอุตสาหกรรมเกษตร มหาวิทยาลัยเกษตรศาสตร์ วิทยาเขตเฉลิมพระเกียรติจังหวัดสกลนครจึงได้ร่วมกันทำการศึกษาวิจัยการพัฒนาการเลี้ยงปลานิลในพื้นที่ดินเค็มที่เกิดจากเกลือสินเธาว์ ศึกษาการเจริญเติบโต การเปลี่ยนแปลงทางสรีรวิทยา การแสดงออกของลักษณะที่สำคัญทางเศรษฐกิจของปลานิล รวมทั้งชนิดพันธุ์ที่เหมาะสมสำหรับการเลี้ยงในแต่ละระดับความเค็มในแต่ละพื้นที่ เพื่อเป็นข้อมูลในการส่งเสริมให้เกษตรกรสามารถเลี้ยงปลานิลในพื้นที่ดินเค็มได้อย่างมีประสิทธิภาพ

Read more

ระดับยาต้านจุลชีพและการตกค้างของยาในปลานิล

ดร.อักษร แสงเทียนชัย จากภาควิชาเภสัชวิทยา คณะสัตวแพทยศาสตร์ มหาวิทยาลัยเกษตรศาสตร์ และคณะทีมวิจัยประกอบด้วย ผศ.ดร.กาญจนา อิ่มศิลป์ ผศ.ดร.อุสุมา เจิมนาค รศ.ดร.อำนาจ พัวพลเทพ ผศ.ดร.ศรัญญา พัวพลเทพ นางสาวนฤมล กลางแก้ว นางสาวนภสร เผ่าชูศักดิ์ ได้ร่วมกันทำการศึกษาระดับยาปฏิชีวนะและการตกค้างของยาในปลานิลรวมทั้งระดับการสะสมในเนื้อเยื่อ เมื่อนำยามาใช้รักษาโรคติดเชื้อแบคทีเรียในปลานิล และหาระดับยาที่เหมาะสมในการออกฤทธิ์ทางเภสัชจลนศาสตร์ เพื่อความปลอดภัยต่อผู้บริโภค

Read more