มิริน จากข้าวไทย

นักวิจัยจากสถาบันค้นคว้าและพัฒนาผลิตภัณฑ์อาหาร มหาวิทยาลัยเกษตรศาสตร์ นำโดยนายประมวล ทรายทอง และนางวนิดา เทวารุทธิ์ และทีมวิจัย มีแนวคิดในการพัฒนาและผลิตมิรินจากข้าวสายพันธุ์ไทย ให้เป็นผลิตภัณฑ์ที่มีคุณภาพและอยู่ในระดับเดียวกับผลิตภัณฑ์ของประเทศต้นตำรับ

Read more

น้ำส้มสายชูหมัก จากน้ำมะพร้าวน้ำหอม

น้ำส้มสายชูหมัก จากน้ำมะพร้าวน้ำหอม ผลิตน้ำส้มสายชูหมัก (Fermented vinegar) ที่เรียกว่า Rapid-Tray-Culture Method” เป็นวิธีการผลิตน้ำส้มสายชูหมักที่ง่าย ไม่ยุ่งยากใช้เทคนิคการหมักแบบ Surface Culture Fermentation (SCF) ที่มีการผลิตโดยการควบคุมสภาวะการหมักและมีอัตราสวนของวัตถุดิบที่มีความเหมาะสม ไดผลิตภัณฑน้ำสมสายชูหมักตามตองการ โดยอาศัยเชื้อจุลินทรียกรดน้ำสมสายพันธุบริสุทธิ์ในกระบวนการหมักอยางเฉพาะเจาะจง โดยมีเทคนิคที่ช่วยให้ระยะเวลาในการผลิตสั้น และรวดเร็วยิ่งขึ้น สอบถามได้ที่ นายประมวล ทรายทอง นักวิจัย ฝ่ายจุลชีววิทยาประยุกต์ สถาบันค้นคว้าและพัฒนาผลิตภัณฑ์อาหาร โทร. 0 2942 8629-35 ต่อ 416

Read more

มิริน จากข้าวไทย

มิริน จากข้าวไทย ช่วยเพิ่มมูลค่าข้าวไทย ด้วยสารปรุงแต่งรสอาหาร ที่ผลิตจากการนำข้าวมาหมักกับเชื้อราและผสมเหล้า มิรินจะทำให้อาหารมีความวาว งามสดใส ช่วยเพิ่มกลิ่นรสในอาหาร อีกทั้งยังช่วยเพิ่มมูลค่าให้กับข้าวไทย ให้เป็นผลิตภัณฑ์ที่มีมูลค่าสูง เป็นการสร้างรายได้ให้กับชาวนา และเกษตรกร ลดการนำเข้ามิรินจากต่างประเทศ สอบถามได้ที่ คุณประมวล ทรายทอง ฝ่ายจุลชีววิทยาประยุกต์ สถาบันค้นคว้าและพัฒนาผลิตภัณฑ์อาหาร โทร.0-2942-8629 – 35

Read more

การผลิตน้ำส้มสายชูหมัก โดยคุณประมวล ทรายทอง

การผลิตน้ำส้มสายชูหมัก เครื่องดื่มเพื่อสุขภาพ สามารถผลิตกรดน้ำส้มได้ 6.0 – 7.0% สามารถผลิตได้โดยใช้วัตถุดิบจากไวน์ผลไม้ และไวน์อื่นๆ ลดการนำเข้าจากต่างประเทศ ติดต่อได้ที่ คุณประมวล ทรายทอง ฝ่ายจุลชีววิทยาประยุกต์ สถาบันค้นคว้าและพัฒนาผลิตภัณฑ์อาหาร โทร.0-2942-8629

Read more

ผลิตภัณฑ์ข้าวแดงคุณค่าสูง โดย คุณประมวล ทรายทอง

“ผลิตภัณฑ์ข้าวแดงคุณค่าสูง: High Monacolin and Low Citrinin” จากเชื้อราข้าวแดง Monascus purpureus สายพันธุ์ IFRPD 4046 ซึ่งมีกรรมวิธีและกระบวนการผลิตข้าวแดงที่ดัดแปลงให้มีความเหมาะสม สะดวก ใช้เวลาในการผลิตสั้น ผลิตได้ปริมาณมาก ช่วยลดต้นทุนการผลิต มีความเหมาะสมในการนำไปต่อยอดสู่เชิงพาณิชย์ ผลิตภัณฑ์ข้าวแดงที่ได้มีสาร Monacolin K และสาร Antioxidant ปริมาณสูง และมีปริมาณสารพิษ Citrinin ในระดับต่ำ ทำให้มีประโยชน์และมีความปลอดภัยในการนำมาใช้ทางอาหารและผลิตภัณฑ์อื่นๆ ที่เกี่ยวข้อง และมีศักยภาพสูงเมื่อนำมาใช้เป็นส่วนผสมในการผลิตเป็นผลิตภัณฑ์ทางอาหารเพื่อเพิ่มคุณค่าและประโยชน์แก่ผู้บริโภค เช่น น้ำส้มสายชูหมัก ไวน์ โยเกิร์ต และวุ้นมะพร้าว ติดต่อได้ที่ นายประมวล ทรายทอง ฝ่ายจุลชีววิทยาประยุกต์ สถาบันค้นคว้าและพัฒนาผลิตภัณฑ์อาหาร โทร. 0 2942 8629-35 ต่อ 416

Read more