ขอเชิญชวนร่วมรับฟังเสวนาพิเศษ เรื่อง “การประมงวิถีถัดไป: ทิศทางเศรษฐกิจบนฐานโลกาภิวัตน์-ท้องถิ่นภิวัตน์ด้วยมุมมองจากคนในแวดวง” (Next normal fisheries: Global-Local = “Glocal” perspectives from Insiders) การประชุมทางวิชาการครั้งที่ 60

มหาวิทยาลัยเกษตรศาสตร์ ขอเชิญชวนร่วมรับฟังเสวนาพิเศษ เรื่อง “การประมงวิถีถัดไป: ทิศทางเศรษฐกิจบนฐานโลกาภิวัตน์-ท้องถิ่นภิวัตน์ด้วยมุมมองจากคนในแวดวง” (Next normal fisheries: Global-Local = “Glocal” perspectives from Insiders) วันอังคารที่ 22 กุมภาพันธ์ 2565 เวลา 09.00

Read more

ระบบการบริหารจัดการอ่างเก็บน้ำ โดย รศ.ดร.จารุมาศ เมฆสัมพันธ์ มหาวิทยาลัยเกษตรศาสตร์

ผลงานวิจัยได้รางวัลที่สร้างผลกระทบมหาวิทยาลัยเกษตรศาสตร์ ประจำปี 2564 (ระดับ Silver ผลงานวิจัยที่สร้างผลกระทบระดับสูง) จัดโดย สถาบันวิจัยและพัฒนาแห่งมหาวิทยาลัยเกษตรศาสตร์ “ระบบการบริหารจัดการอ่างเก็บน้ำ เพื่อการอนุรักษ์ทรัพยากรและการใช้ประโยชน์จากแหล่งน้ำอย่างยั่งยืน” โดย รองศาสตราจารย์จารุมาศ เมฆสัมพันธ์ และคณะทำงาน จากคณะประมง มหาวิทยาลัยเกษตรศาสตร์

Read more

ติดตามและประเมินผลการดำเนินงานวิจัย คณะประมง มก.

สถาบันวิจัยและพัฒนาแห่งมหาวิทยาลัยเกษตรศาสตร์ ติดตามและประเมินผลการดำเนินงานวิจัย วันที่ 10 พฤศจิกายน 2563 ณ อาคารบุญอินทรัมพรรย์ คณะประมง มหาวิทยาลัยเกษตรศาสตร์ โดยมีผลงานทางด้านประมงดังต่อไปนี้ การพัฒนาระบบฐานข้อมูลกฎหมายและระเบียบเกี่ยวกับการประมงและระบบสืบค้นบนอินเตอร์เน็ต หัวหน้าโครงการ: ผศ. ดร.ภัสสรา รัตนพิศิฏฐ์ ภาควิชาการจัดการประมง คณะประมง มหาวิทยาลัยเกษตรศาสตร์  เสริมสร้างองค์ความรู้และการใช้ประโยชน์จากทรัพยากรชีวภาพในระบบนิเวศทางทะเล

Read more

อภิปรายพิเศษ เรื่อง “วิกฤตขยะทะเลไทย” (Marine debris crisis) ในการประชุมทางวิชาการของมหาวิทยาลัยเกษตรศาสตร์ ครั้งที่ 58

                 ความต้องการใช้พลาสติกในสังคมปัจจุบันมีความต้องการแปรผันตามจำนวนประชากรที่เพิ่มขึ้นและมีการใช้ตลอดเวลา จึงไม่สามารถหยุดการใช้พลาสติกได้ ประกอบกับในผลิตภัณฑ์ต่างๆล้วนมีส่วนผสมของพลาสติกทั้งสิ้น ดังนั้นเราจะทำอย่างไรให้การใช้พลาสติกเกิดประโยชน์สูงสุด และลดในส่วนที่ไม่จำเป็นลง  ซึ่งไม่มีเทคโนโลยีใดที่รับผิดชอบพฤติกรรมมนุษย์ได้ มนุษย์เราจะต้องปรับพฤติกรรมในการใช้พลาสติก เพื่อให้เกิดประโยชน์สูงสุดก่อนการทิ้งเป็นขยะ ประเทศไทยถูกจัดอยู่ในประเทศที่ทิ้งขยะพลาสติกลงทะเลเป็นอันดับ 5 ของโลก ซึ่งขยะจากทะเล

Read more

การจัดการระบบน้ำในบ่อพักแม่ปลาดุกอุย

ปลาดุกอุย เป็นปลาน้ำจืดพื้นบ้านที่มีคุณค่าทางเศรษฐกิจของประเทศไทย พบได้ทั่วไปตามแหล่งน้ำธรรมชาติทั่วทุกภาคของประเทศ เป็นปลาที่นิยมบริโภคเนื่องจากเนื้อมีคุณภาพและรสชาติดี ผลผลิตปลาดุกเกือบทั้งหมดเป็นปลาดุกลูกผสม หรือบิ๊กอุย ที่ได้จากการผสมข้ามพันธุ์ระหว่างแม่พันธุ์ปลาดุกอุยกับพ่อพันธุ์ปลาดุกยักษ์ เนื่องจากเป็นปลาที่เลี้ยงง่าย โตเร็ว มีความต้านทานโรค และเนื้อมีรสชาติใกล้เคียงกับปลาดุกอุย ผลงานวิจัยนี้เป็นของ ผศ.ดร.เรืองวิชญ์ ยุ้นพันธ์ ภาควิชาเพาะเลี้ยงสัตว์น้ำ คณะประมง มหาวิทยาลัยเกษตรศาสตร์ กล่าวว่า ในการเพาะพันธุ์ปลาดุกลูกผสมควรให้พักแม่ปลาภายหลังการฉีดฮอร์โมนสังเคราะห์ LHRH

Read more

การใช้ไฟ LED สีต่างๆ เพื่อล่อปลาหมึกหอม/จรวย สุขแสงจันทร์

เรื่อง การใช้ไฟ LED สีต่างๆ เพื่อล่อปลาหมึกหอม ประเทศไทยมีการทำประมงโดยการอาศัยแสงไฟมาเป็นระยะเวลานาน ซึ่งในอดีตประมาณ 30–40 ปีที่ผ่านมา ของการทำประมงโดยกยารใช้แสงไฟล่อสัตว์น้ำ ชาวประมงนิยมใช้ตะเกียงแก๊สอะแซสทิลีน ต่อมาได้เปลี่ยนเป็นตะเกียงอัดลมโดยใช้น้ำมันก๊าด หรือที่ชาวบ้านเรียกว่า ตะเกียงจ้าวพายุ ซึ่งตะเกียงดังกล่าวมีกำลังส่องสว่างถึง 500 วัตต์ และในยุคต่อมาได้มีการนำเอาเครื่องปั่นไฟไปติดตั้งในเรือและได้รับความนิยมจนถึงปัจจุบัน ปลาหมึกจัดเป็นสัตว์น้ำที่อาศัยอยู่ในโลกมานานกว่า 500 ล้านปี

Read more

การประชุมวิชาการ การปรับปรุงพันธุ์และเทคโนโลยีชีวภาพสัตว์สู่เศรษฐกิจสร้างสรรค์

ในโอกาสที่ ศาสตราจารย์ ดร.สมเด็จพระเจ้าลูกเธอ เจ้าฟ้าจุฬาภรณวลัยลักษณ์ อัครราชกุมารี เจริญพระชนมายุครบ 5 รอบ และทรงสำเร็จการศึกษา ปรัชญาดุษฎีบัณฑิต (เพาะเลี้ยงสัตว์น้ำ) ครบ 10 ปี และ เพื่อสนองนโยบายในการยกระดับภาคการผลิตของประเทศ มหาวิทยาลัยเกษตรศาสตร์ โดย คณะประมง สถาบันวิจัยและพัฒนาแห่งมหาวิทยาลัยเกษตรศาสตร์

Read more

เสวนาฯ “การบริหารจัดการประมงไทยภายใต้วิกฤตการณ์ปัจจุบัน”

18 สิงหาคม 2558 รศ.ดร.ธงชัย สุวรรณสิชณน์ ผู้อำนวยการสถาบันวิจัยและพัฒนาแห่ง มก. กล่าวเปิดงาน เสวนาทางวิชาการ เรื่อง “การบริหารจัดการประมงไทยภายใต้วิกฤตการณ์ปัจจุบัน” เสวนาโดย รศ.ดร.กังวาลย์ จันทรโชติ ภาควิชาการจัดการประมง คณะประมง ม.เกษตรฯ บางเขน (ช่วงเช้า) และ

Read more

ผลของยาต้านจุลชีพเอนโรฟลอกซาซินและในพลาสม่าปลานิล

ผลงานวิจัยของ อาจารย์ สพ.ญ. อุสุมา เจิมนาค จากภาควิชาเภสัชวิทยา คณะสัตวแพทยศาสตร์ มหาวิทยาลัยเกษตรศาสตร์ ทำการศึกษาเภสัชจลนศาสตร์หรือผลของยาเอนโรฟลอกซาซินและเมตาบอไลต์ในพลาสมา เป็นข้อมูลสำคัญซึ่งนำมาใช้ประกอบการใช้ยาในการรักษาการติดเชื้อจุลชีพในปลานิลเป็นไปอย่างมีประสิทธิภาพและเหมาะสม

Read more

รายการวิทยุ เรื่อง การศึกษาเปรียบเทียบระบบการเพาะพันธุ์ปลานิล/เรืองวิชญ์ ยุ้นพันธ์

ผลงานวิจัยของ นายเรืองวิชญ์ ยุ้นพันธ์ นายประพันธ์ศักดิ์ ศรีษะภูมิ นายสุบรรณ เสถียรจิตร และนายฉัตรชัย ไทยทุ่งฉิน ภาควิชาเพาะเลี้ยงสัตว์น้ำ คณะประมง มหาวิทยาลัยเกษตรศาสตร์ เพื่อเปรียบเทียบการเพาะพันธุ์ปลานิล 3 ระบบ คือ การเพาะพันธุ์ในบ่อดิน บ่อซีเมนต์ และในกระชังแขวนลอยในบ่อดิน ที่มีต่อผลผลิต กำลังผลิตของไข่ อัตรารอดของลูกปลานิลระยะถุงไข่แดงยุบ และฮอร์โมนต่าง ๆ ที่เกี่ยวข้องกับการสืบพันธุ์

Read more