การประยุกต์ใช้ถ่านกัมมันต์ในบรรจุภัณฑ์และแผ่นชะลอการสุกของผลไม้
รศ.ดร.ศิริกาญจนา ทองมี และคณะ
ภาควิชาฟิสิกส์ คณะวิทยาศาสตร์ มหาวิทยาลัยเกษตรศาสตร์
โทร. 086-999-3234 E-mail: fscisjn@ku.ac.th
รศ.ดร.ศิริกาญจนา ทองมี และคณะ
ภาควิชาฟิสิกส์ คณะวิทยาศาสตร์ มหาวิทยาลัยเกษตรศาสตร์
โทร. 086-999-3234 E-mail: fscisjn@ku.ac.th
ผศ.ดร.บัวผัน พวงศิลป์ และ น.ส.กวินธิดา นันต๊ะ
ภาควิชาวนผลิตภัณฑ์ คณะวนศาสตร์ มหาวิทยาลัยเกษตรศาสตร์
โทร. 090-731-1262 E-mail: buapun.p@ku.ac.th
รศ.ดร.ศิริกาญจนา ทองมี
ภาควิชาฟิสิกส์ คณะวิทยาศาสตร์
มหาวิทยาลัยเกษตรศาสตร์
โทร. 086-999-3234 E-mail: fscisjn@ku.ac.th
รศ.ดร.ศิริกาญจนา ทองมี
ภาควิชาฟิสิกส์ คณะวิทยาศาสตร์
มหาวิทยาลัยเกษตรศาสตร์
รศ.ดร.ศิริกาญจนา ทองมี
ภาควิชาฟิสิกส์ คณะวิทยาศาสตร์
มหาวิทยาลัยเกษตรศาสตร์
กระดาษมีส่วนสำคัญในชีวิตเรามากมาย เห็นได้จากของใช้ในชีวิตประจำวันที่อยู่รอบๆ ตัวเรา เช่น หนังสือพิมพ์ ถุงใส่ขนมกระดาษลูกฟูกที่ใช้ทำกล่องใส่ของ กระดาษชำระ ธนบัตร ตั๋วรถเมล์ ตลอดจนแผ่นป้ายโฆษณาตามสถานที่ต่างๆ ก็ล้วนทำจากกระดาษทั้งสิ้น โดยวัตถุดิบที่นำมาใช้ในการผลิตมักทำมาจากเส้นใยพืช ในกระบวนการผลิตกระดาษ การทำให้กระดาษมีคุณสมบัติที่ดีขึ้นทำได้โดยการเติมสารเติมแต่งเข้าไปในกระบวนการผลิตก่อนการขึ้นรูปเป็นแผ่นกระดาษแนวทางหนึ่งในการพัฒนาผลิตภัณฑ์กระดาษ คือ การศึกษาวิจัยเพื่อเพิ่มคุณสมบัติพิเศษของกระดาษ โดยการปรับปรุงคุณสมบัติเส้นใยเยื่อกระดาษให้สามารถนำไปพัฒนาเป็นผลิตภัณฑ์ที่มีมูลค่าสูงขึ้นและตอบสนองความต้องการของผู้บริโภคได้ ดร.สุธีรา วิทยากาญจน์ นายชัยพร
Read moreโดย ผศ.ดร.ศิริกาญจนา ทองมี
ภาควิชาฟิสิกส์ คณะวิทยาศาสตร์
ผศ.ดร.ศิริกาญจนา ทองมี อาจารย์ประจำภาควิชาฟิสิกส์ คณะวิทยาศาสตร์ มหาวิทยาลัยเกษตรศาสตร์ จึงได้ทำการศึกษาการเตรียมถ่านกัมมันต์ โดยมุ่งเน้นการใช้วัตถุดิบจากวัสดุชีวมวลซึ่งเป็นเศษเหลือทิ้งจากอุตสาหกรรมที่มีอยู่เป็นจำนวนมากในประเทศไทย ได้แก่ ชานอ้อย ซึ่งเป็นวัสดุเหลือทิ้งจากโรงงานอุตสาหกรรมการผลิตน้ำตาล ศึกษาการใช้กระบวนการผลิตถ่านกัมมันต์ทางกายภาพด้วยการใช้ไอน้ำ เพื่อลดต้นทุนในการผลิตสำหรับภาคอุตสาหกรรม ศึกษาหาสภาวะอุณหภูมิและเทคนิคการเร่งปฏิกิริยาที่เหมาะสมเพื่อการผลิตถ่านกัมมันต์จากชานอ้อย
Read moreการผลิตถ่านกัมมันต์จากชานอ้อย เพื่อสิ่งแวดล้อม เป็นนวัตกรรมใหม่ เพื่อใช้ในการบำบัดหรือกำจัดมลสารที่ปนเปื้อนอยู่ในน้ำเสีย โดยอาศัยการดูดซับ ซึ่งถ่านกัมมันต์มีความสามารถในการดูดซับสูง เนื่องจากมีพื้นผิวมาก มีความจุในการดูดซับสูง สามารถดููดซับโลหะชนิดต่าง ๆ ได้หากนำไปใช้ในภาคอุตสาหกรรม ก็จะช่วยในการลดปริมาณโลหะหนัก และลดปริมาณน้ำเสีย ก่อนทิ้ง ถ่านกัมมันต์ยังสามารถใช้ในการดูดสีและดูดกลิ่น ซึ่งงานวิจัยนี้ ใช้วิธีทางกายภาพ โดยใช้ไอน้ำ ต้นทุนในการผลิตอยู่ที่ราคาประมาณ 20 บาท/กิโลกรม สอบถามได้ที่ ผศ.ดร.ศิริกาญจนา ทองมี ภาควิชาฟิสิกส์ คณะวิทยาศาสตร์ มหาวิทยาลัยเกษตรศาสตร์ โทร.0-2942-8025
Read moreนางสาววราภรณ์ อภิวัฒนาภิวัต นักวิจัยจากสถาบันค้นคว้าและพัฒนาผลิตผลทางการเกษตรและอุตสาหกรรมเกษตร ได้ทำการทดลองนำเศษไม้จากการตัดแต่งกิ่งของสวนป่า มาผลิตเป็นถ่านกัมมันต์ โดยเปรียบเทียบถ่านกัมมันต์ที่ผลิตจากไม้สนและไม้สักในประเทศไทย เปรียบเทียบลักษณะและประสิทธิภาพการดูดซับสีย้อมของถ่านกัมมันต์ที่ผลิตได้จากเศษไม้ไม้สนและไม้สักกับสีย้อมรีแอคทีฟ (Reactive dyes) พร้อมกับหาสภาวะที่เหมาะสมในการดูดซับของถ่านกัมมันต์ โดยใช้วิธีการหาพื้นผิวตอบสนอง
Read more