คอนกรีตพรุนจีโอโพลิเมอร์ผสมเสร็จสำหรับระบบการระบายน้ำและกระบวนการผลิต

คอนกรีตพรุนจีโอโพลิเมอร์เป็นวัสดุก่อสร้างสมัยใหม่ที่พัฒนาขึ้นจากแนวคิดการใช้ทรัพยากรอย่างคุ้มค่าและเป็นมิตรกับสิ่งแวดล้อม โดยวัสดุนี้เกิดจากการนำสารที่มีองค์ประกอบของอลูมิโนซิลิเกต เช่น เถ้าลอยหรือดินขาว มาผสมกับสารละลายอัลคาไลน์อย่างโซเดียมซิลิเกตหรือโปแตสเซียมไฮดรอกไซด์ ซึ่งจะทำปฏิกิริยากันจนเกิดโครงสร้างที่แข็งแรงคล้ายซีเมนต์ เรียกว่า “จีโอโพลิเมอร์” และเมื่อออกแบบให้มีโครงสร้างพรุน ก็จะได้เป็นคอนกรีตพรุนจีโอโพลิเมอร์ที่มีคุณสมบัติเด่นคือแข็งแรง ทนแรงกระแทก และให้น้ำซึมผ่านได้ วัสดุชนิดนี้เหมาะสำหรับใช้ในระบบการระบายน้ำ เช่น บริเวณที่เสี่ยงต่อน้ำท่วม เพราะสามารถให้น้ำซึมผ่านลงสู่ชั้นใต้ดินได้อย่างมีประสิทธิภาพ นับเป็นนวัตกรรมที่ตอบโจทย์ทั้งในด้านวิศวกรรมโครงสร้างและการจัดการสิ่งแวดล้อม โดยได้ถูกนำมาใช้เป็นต้นแบบในงานวิจัยของคณะวิชาต้นสังกัด เพื่อศึกษาความเป็นไปได้ในการใช้งานจริงในอนาคต  คอนกรีตพรุนจีโอโพลิเมอร์ผสมสามารถผลิตในรูปแบบแผ่นและเทหล่อมีความสามารถ

Read more

กลาสเซรามิกในงานทันตกรรม การบูรณะและกระบวนการผลิต

รศ. ดร.ดวงฤดี ฉายสุวรรณ และคณะ
ภาควิชาวิศวกรรมวัสดุ คณะวิศวกรรมศาสตร์
มหาวิทยาลัยเกษตรศาสตร์
โทร. 085-112-9929 E-mail: duangrudee.c@ku.ac.th

Read more

การสังเคราะห์กระดูกเทียมจากจีโอโพลิเมอร์

ผศ.ดร.ดวงฤดี ฉายสุวรรณ อาจารย์ประจำภาควิชาวิศวกรรมวัสดุ คณะวิศวกรรมศาสตร์ มหาวิทยาลัยเกษตรศาสตร์ จึงทำการวิจัยและพัฒนาในการหาวัสดุชนิดใหม่ที่สามารถใช้ทดแทนกระดูกเทียมจากโลหะ มีความเข้ากันได้ทางชีวภาพกับร่างกายมนุษย์ และไม่มีผลข้างเคียงในระยะยาว

Read more

กลาสเซรามิกชนิดไมกาเป็นกลาสเซรามิก โดย ผศ.ดร.ดวงฤดี ฉายสุวรรณ

กลาสเซรามิกชนิดไมกาเป็นกลาสเซรามิกที่มีสมบัติเหมาะที่จะใช้ไปเป็นฟันปลอม แบบอุดฝัง (Inlay) อุดครอบ (Onlay) ครอบฟัน (Crown) และแผ่นปิดหน้าฟัน (Veneer) จุดเด่น คือ สามารถกรอแต่งขึ้นรูปด้วยระบบ CAD/CAM (Computer Aided Design and Computer Aided Manufacturing) ประกอบกับการใช้เครื่อง CNC (Computer Numerical Control) ที่สามารถขึ้นรูปแบบซับซ้อนได้ ชิ้นส่วนเหล่านี้จึงสามารถเข้ากันได้อย่างลงตัวกับแกนฟันเดิม ซึ่งมีความแข็งแรงสูง ทนต่อการเปลี่ยนแปลงอุณหภูมิ สามารถเข้ากับร่างกายมนุษย์ได้ และทนต่อการละลายของสารเคมี กลาสเซรามิกใช้เป็นวัสดุบูรณะฟันที่ผลิตขึ้นได้ภายในประเทศ สามารถนำไปใช้เป็น ครอบฟัน แกนฟันหรือวัสดุอุดฟัน ตามความเหมาะสม ตอบสนองความต้องการของผู้ป่วยระดับกลางและระดับล่าง สอบถามได้ที่ ผศ.ดร.ดวงฤดี ฉายสุวรรณ ภาควิชาวิศวกรรมวัสดุ คณะวิศวกรรมศาสตร์ มหาวิทยาลัยเกษตรศาสตร์ โทร. 08-5112-9929

Read more

คอนกรีตพรุนจากวัสดุเหลือทิ้งทางการเกษตร ทดแทนปูนซีเมนต์ (จีโอโพลีเมอร์) โดย ผศ.ดร. ดวงฤดี ฉายสุวรรณ

คอนกรีตพรุนจากวัสดุเหลือทิ้งทางการเกษตร ทดแทนปูนซีเมนต์ (จีโอโพลีเมอร์) สามารถใช้ในการผลิตเป็นพื้นปูถนน พื้นลานจอดรถ โครงสร้างตกแต่งทางสถาปัตยกรรม ลดปัญหาน้ำท่วมขังบนผิวถนน สวนสาธารณะ หรือทางเดินเท้า ด้วยการใช้คอนกรีตพรุนที่น้ำสามารถซึมผ่านได้แทนที่วัสดุโครงสร้างพื้นตันแบบเก่า ทดแทนการใช้ปูนซีเมนต์ โดยการใช้วัสดุชนิดจีโอโพลีเมอร์ นำวัสดุเหลือทิ้งจากการเกษตร และโรงงานอุตสาหกรรม มาใช้ให้เกิดประโยชน์สูงสุด สอบถามได้ที่ ผศ.ดร. ดวงฤดี ฉายสุวรรณ ภาควิชาวิศวกรรมวัสดุ คณะวิศวกรรมศาสตร์ มหาวิทยาลัยเกษตรศาสตร์ โทร 08-5112-9929

Read more

รายการวิทยุ เรื่อง “เซรามิกส์ในวงการทันตกรรม”/ดวงฤดี ฉายสุวรรณ

ผลงานวิจัยที่มีความรู้เกี่ยวกับสุขภาพ เป็นนวัตกรรมทางทันตกรรม ก็จะได้เป็นทางเลือกหนึ่งในการรักษาฟัน ซ่อมแซมส่วนที่สึกหรอ เป็นผลงานของอ.ดวงฤดี ฉายสุวรรณ ภาควิชาวิศวกรรมวัสดุ คณะวิศวกรรมศาสตร์ มหาวิทยาลัยเกษตรศาสตร์

Read more

การขึ้นรูปกลาสเซลามิกทางการทันตกรรมด้วยเครื่องกลควบคุมด้วยระบบคอมพิวเตอร์

ผลงานวิจัยดีๆ เกี่ยวกับนวัตกรรมของการซ่อมแซมฟันกันนะครับ เป็นผลงานวิจัยของ ผศ.ดวงฤดี ฉายสุวรรณ ภาควิชาวิศวกรรมวัสดุ คณะวิศวกรรมศาสตร์ มหาวิทยาลัยเกษตรศาสตร์ บางเขน

Read more

มก. พัฒนาการขึ้นรูปกลาสเซรามิกทางทันตกรรมด้วยเครื่องกลควบคุมด้วยระบบคอมพิวเตอร์

[youtube]http://www.youtube.com/watch?v=c_a2IwXlZHc[/youtube] สวัสดีครับคุณผู้ฟังทุกท่านครับ พบกันอีกครั้งนะครับกับรายการจากแฟ้มงานวิจัย มก. รายการนี้ผลิตโดยฝ่ายเผยแพร่งานวิจัย สถาบันวิจัยและพัฒนาแห่งมหาวิทยาลัยเกษตรศาสตร์ รายการของเราเป็นรายการที่จะนำเสนอเรื่องราวผลงานวิจัยดีๆของมหาวิทยาลัยเกษตรศาสตร์ เพื่อให้คุณผู้ฟังได้นำมาปรับใช้ในชีวิตประจำวัน หรือเพื่อเสริมสร้างได้รายให้กับตนเอง โดยมีกระผม วิทวัส ยุทธโกศา เป็นผู้ดำเนินรายการครับ คุณผู้ฟังครับ คุณคิดว่าอวัยวะส่วนใดของมนุษย์แข็งแรง ทนทานที่สุดครับ กระผมคิดว่าคำตอบของหลายท่านคงจะเป็น ฟัน ใช่มั้ยครับ และฟันที่เราคิดว่าเป็นอวัยวะที่แข็งแรง

Read more