การเตรียมเส้นเชิงประกอบที่มีสมบัติพิเศษจากเม็ดพลาสติกชีวภาพ เพื่อใช้ในการพิมพ์สามมิติ

รองศาสตราจารย์ ดร.อภิรัตน์ เลาห์บุตรี และคณะ
ภาควิชาวิศวกรรมวัสดุ  คณะคณะวิศวกรรมศาสตร์ 
มหาวิทยาลัยเกษตรศาสตร์  โทร. 08-9747-9154

Read more

เชื้อเพลิงชีวภาพ (Black Pellet)

ดร.พงษ์ศักดิ์ เฮงนิรันดร์ 
ภาควิชาวนผลิตภัณฑ์  คณะวนศาสตร์ 
มหาวิทยาลัยเกษตรศาสตร์  โทร. 0-2942-8109

Read more

PHAs พลาสติกย่อยสลายได้ทางชีวภาพ

ดร.พิลาณี ไวถนอมสัตย์
สถาบันค้นคว้าและพัฒนาผลิตผลทางการเกษตรและอุตสาหกรรมเกษตร
มหาวิทยาลัยเกษตรศาสตร์
โทร. 0-2942-8600-3 E-mail: aappln@ku.ac.th29/8

Read more

ถังน้ำหมักชีวภาพ แบบกวนผสมอัตโนมัติ

ถังน้ำหมักชีวภาพ แบบกวนผสมอัตโนมัติ ช่วยลดปัญหาด้านการขาดแคลนแรงงาน และเวลา ซึ่งถังน้ำหมักชีวภาพแบบกวนผสมอัตโนมัตินี้ประกอบด้วยถังพลาสติกขนาด 200 ลิตร และชุดอุปกรณ์ช่วยผสมที่ต่อเชื่อมกับอุปรณ์อิเล็กทรอนิคส์ คือ ระบบตั้งเวลาและชุดควบคุมภาระงาน ทำให้สามารถกำหนดความถี่หรือระยะเวลาในการกวนผสมอินทรียวัตถุภายในถังได้อย่างเหมาะสม ยังช่วยเพิ่มประสิทธิภาพการผลิตในด้านของการย่นระยะเวลาการหมักเสร็จสมบูรณ์ สอบถามได้ที่ อาจารย์ปิยะรัตน์ วิจักขณ์สังสิทธิ์ ศูนย์ปฎิบัติการวิจัยและเรือนปลูกพืชทดลอง ศูนย์วิจัยและบริหารวิชาการ คณะเกษตร กพส. มหาวิทยาลัยเกษตรศาสตร์ วิทยาเขตกำแพงแสน โทร. 0-3435-1399

Read more

ถังน้ำหมักชีวภาพ แบบกวนผสมอัตโนมัติ

ถังน้ำหมักชีวภาพ แบบกวนผสมอัตโนมัติ ช่วยลดปัญหาด้านการขาดแคลนแรงงาน และเวลา ซึ่งถังน้ำหมักชีวภาพแบบกวนผสมอัตโนมัตินี้ประกอบด้วยถังพลาสติกขนาด 200 ลิตร และชุดอุปกรณ์ช่วยผสมที่ต่อเชื่อมกับอุปรณ์อิเล็กทรอนิคส์ คือ ระบบตั้งเวลาและชุดควบคุมภาระงาน ทำให้สามารถกำหนดความถี่หรือระยะเวลาในการกวนผสมอินทรียวัตถุภายในถังได้อย่างเหมาะสม ยังช่วยเพิ่มประสิทธิภาพการผลิตในด้านของการย่นระยะเวลาการหมักเสร็จสมบูรณ์ สอบถามได้ที่ อาจารย์ปิยะรัตน์ วิจักขณ์สังสิทธิ์ ศูนย์ปฎิบัติการวิจัยและเรือนปลูกพืชทดลอง ศูนย์วิจัยและบริหารวิชาการ คณะเกษตร กพส. มหาวิทยาลัยเกษตรศาสตร์ วิทยาเขตกำแพงแสน โทร. 0-3435-1399

Read more

สารสกัดจากใบเลี่ยนกำจัดหนอนกระทู้หอม

งานวิจัยนี้จะสามารถพัฒนาสารสกัดจากใบเลี่ยน เพื่อใช้ในแปลงเกษตรกรต่อไปได้ นำไปสู่เกษตรทางเลือกที่ปลอดภัยทั้ง สิ่งแวดล้อม เกษตรกร และผู้บริโภค เป็นผลงานของ ผศ.ดร.วสกร บัลลังก์โพธิ์ และ รศ.ดร. สุรพล วิเศษสรรค์ อาจารย์คณะวิทยาศาสตร์ มหาวิทยาลัยเกษตรศาสตร์

Read more

ขอเชิญเข้าร่วมรับฟังการบรรยายพิเศษ เรื่อง “ทิศทางงานวิจัยด้านความหลากหลายทางชีวภาพ สิ่งแวดล้อม การเปลี่ยนแปลงสภาพภูมิอากาศ พลาสติกชีวภาพ และการสนับสนุนทุนวิจัยของ สพภ.- วช.”

ตามที่ สำนักงานพัฒนาเศรษฐกิจจากฐานชีวภาพ (องค์การมหาชน) ได้รับการมอบหมายจากสำนักงานคณะกรรมการวิจัยแห่งชาติ (วช.) ให้บริหารการสนับสนุนทุนวิจัย รวม 4 กลุ่มเรื่อง ได้แก่ กลุ่มเรื่องด้านการพัฒนาเศรษฐกิจจากความหลากหลายทางชีวภาพ กลุ่มเรื่องด้านสิ่งแวดล้อมและระบบนิเวศความหลากหลายทางชีวภาพ กลุ่มเรื่องด้านการเปลี่ยนแปลงสภาพภูมิอากาศ (Climate Change) และ กลุ่มเรื่องด้านพลาสติกชีวภาพ (Bioplastics) สถาบันวิจัยและพัฒนาแห่ง มก.

Read more

การผลิตปุ๋ยชีวภาพสำหรับอ้อย โดย รศ.ดร.วิรัตน์ วาณิชย์ศรีรัตนา

การผลิตปุ๋ยชีวภาพ สำหรับปลูกอ้อย ช่วยเร่งความหวาน ทดแทนปุ๋ยเคมี ราคาถูก ติดต่อสอบถามได้ที่ รศ.ดร.วิรัตน์ วาณิชย์ศรีรัตนา ภาควิชาเทคโนโลยีชีวภาพ คณะอุตสาหกรรมเกษตร มหาวิทยาลัยเกษตรศาสตร์ โทร.0 – 2562 – 5078

Read more

ขอความอนุเคราะห์ข้อมูลและ/หรือส่งสำเนาข้อตกลงและหนังสืออนุญาต และรายงานความก้าวหน้าในการเข้าถึงและการใช้ประโยชน์ทรัพยากรชีวภาพ

ขอให้พิจารณาการเข้าถึงทรัพยากรชีวภาพในความครอบครองของหน่วยงาน หากมีได้โปรดแจ้งข้อมูลหรือให้ข้อมูลตามแบบฟอร์มข้อมูลการเข้าถึงทรัพยากรชีวภาพและการแบ่งปันผลประโยชน์ หากในหน่วยงานมีกระบวนการให้อนุญาตเข้าถึงทรัพยากรชีวภาพแล้ว โปรดส่งสำเนาข้อตกลงและหนังสืออนุญาต ซึ่งเป็นการดำเนินการตามระเบียบ กอช. ข้อ 8 และรายงานความก้าวหน้าในการเข้าถึงและการใช้ประโยชน์ทรัพยากรทางชีวภาพ เมื่อหนังสืออนุญาตสิ้นสุดลง ตามระเบียบ กอช. ข้อ 15 และโปรดส่งข้อมูลหรือสำเนาหนังสืออนุญาตและข้อตกลงและรายงานความก้าวหน้าดังกล่าวมายังสำนักงานนโยบายและแผนทรัพยากรธรรมชาติและสิ่งแวดล้อม ภายในวันที่ 28 มิถุนายน 2556 หลักเกณฑ์และวิธีการในการเข้าถึงทรัพยากรชีวภาพ

Read more

การฝึกอบรมเชิงปฏิบัติการ การเตรียมตัวอย่างชีวภาพทางเคมีสำหรับศึกษาด้วยกล้องจุลทรรศน์อิเล็กตรอนแบบส่องกราด

โครงการฝึกอบรมเชิงปฏิบัติการ เรื่อง  การเตรียมตัวอย่างชีวภาพทางเคมีสำหรับศึกษาด้วยกล้องจุลทรรศน์อิเล็กตรอนแบบส่องกราด ระหว่างวันที่ 18-20 มิถุนายน 2556 ปัจจุบันกล้องจุลทรรศน์อิเล็กตรอนแบบส่องกราดเป็นเครื่องมือวิทยาศาสตร์ที่สำคัญในการศึกษาตัวอย่างทางชีวภาพ เช่น พืช สัตว์ จุลินทรีย์ เป็นต้น กล้องจุลทรรศน์อิเล็กตรอนแบบส่องกราดมีการทำงานภายใต้สภาวะสุญญากาศ   ดังนั้นตัวอย่างที่นำเข้าไปศึกษาจึงต้องมีคุณสมบัติที่สำคัญคือปราศจากความชื้น และสามารถนำไฟฟ้าได้ แต่ตัวอย่างทางชีวภาพเป็นตัวอย่างที่มีความชื้นเป็นองค์ประกอบและไม่มีคุณสมบัติในการนำไฟฟ้า  จึงมีความจำเป็นต้องมีการเตรียมตัวอย่างทางเคมีเพื่อเป็นการรักษาลักษณะของตัวอย่างให้สามารถศึกษาภายใต้กล้องจุลทรรศน์อิเล็กตรอนแบบส่องกราดได้อย่างมีประสิทธิภาพ อันจะก่อให้เกิดประโยชน์อย่างสูงสุดต่อการศึกษาลักษณะทางสัณฐานวิทยา

Read more