PHAs พลาสติกย่อยสลายได้ทางชีวภาพ
ดร.พิลาณี ไวถนอมสัตย์
สถาบันค้นคว้าและพัฒนาผลิตผลทางการเกษตรและอุตสาหกรรมเกษตร
มหาวิทยาลัยเกษตรศาสตร์
โทร. 0-2942-8600-3 E-mail: aappln@ku.ac.th29/8
ดร.พิลาณี ไวถนอมสัตย์
สถาบันค้นคว้าและพัฒนาผลิตผลทางการเกษตรและอุตสาหกรรมเกษตร
มหาวิทยาลัยเกษตรศาสตร์
โทร. 0-2942-8600-3 E-mail: aappln@ku.ac.th29/8
ผศ.ดร.สุนทรี แสงจันทร์ และ ดร.ปิยะมาศ ศรีรัตน์
ภาควิชาวิทยาศาสตร์ คณะศิลปศาสตร์และวิทยาศาสตร์ มหาวิทยาลัยเกษตรศาสตร์
วิทยาเขต กำแพงแสน
ผศ.ดร.สุนทรีย แสงจันทร์ และ ดร.ปิยะมาศ ศรีรัตน์
ภาควิชาวิทยาศาสตร์ คณะศิลปศาสตร์และวิทยาศาสตร์
มหาวิทยาลัยเกษตรศาสตร์ วิทยาเขตกำแพงแสน
นางสาวประภัสสร รักถาวร
สถาบันค้นคว้าและพัฒนาผลิตผลทางการเกษตรและอุตสาหกรรมเกษตร
มหาวิทยาลัยเกษตรศาสตร์
โดย รศ.พาสินี สุนากร และ ดร.ศิรเดช สุริต
ภาควิชานวัตกรรมอาคาร คณะสถาปัตยกรรมศาสตร์
น้ำส้มสายชูหมัก จากน้ำมะพร้าวน้ำหอม ผลิตน้ำส้มสายชูหมัก (Fermented vinegar) ที่เรียกว่า Rapid-Tray-Culture Method” เป็นวิธีการผลิตน้ำส้มสายชูหมักที่ง่าย ไม่ยุ่งยากใช้เทคนิคการหมักแบบ Surface Culture Fermentation (SCF) ที่มีการผลิตโดยการควบคุมสภาวะการหมักและมีอัตราสวนของวัตถุดิบที่มีความเหมาะสม ไดผลิตภัณฑน้ำสมสายชูหมักตามตองการ โดยอาศัยเชื้อจุลินทรียกรดน้ำสมสายพันธุบริสุทธิ์ในกระบวนการหมักอยางเฉพาะเจาะจง โดยมีเทคนิคที่ช่วยให้ระยะเวลาในการผลิตสั้น และรวดเร็วยิ่งขึ้น สอบถามได้ที่ นายประมวล ทรายทอง นักวิจัย ฝ่ายจุลชีววิทยาประยุกต์ สถาบันค้นคว้าและพัฒนาผลิตภัณฑ์อาหาร โทร. 0 2942 8629-35 ต่อ 416
Read more ต้นแบบระบบบำบัดน้ำเสีย สำหรับโฮมสเตย์และรีสอร์ท เป็นการพัฒนาออกแบบระบบบำบัดน้ำเสีย เพื่อใช้เป็นต้นแบบสำหรับการบำบัดน้ำเสียของธุรกิจที่พักประเภทโฮมสเตย์และรีสอร์ท โดยเลือกรูปแบบระบบบำบัด 3 รูปแบบ
1. ระบบบึงประดิษฐ์แบบน้ำไหลใต้ผิวดินในแนวนอน
2. ระบบผสมผสานโดยใช้จุลินทรีย์แบบตรึงฟิล์มร่วมกับบึงประดิษฐ์แบบน้ำไหลใต้ผิวดินในแนวนอน และ
3 ระบบบำบัดสำเร็จรูปแบบเบ็ดเสร็จ
ซึ่งเป็นการประยุกต์ระหว่างการเติมอากาศ และบึงประดิษฐ์ สามารถบำบัดน้ำเสียที่มีค่าบีโอดี ทีเคเอ็น และของแข็งแขวนลอย อยู่ในช่วง 1-500 mg/L 2-85 mg/L และ 9-228 mg/L เพิ่อให้ได้น้ำทิ้งที่มีค่าบีโอดีน้อยกว่า 40 mg/L ซึ่งผ่านเกณฑ์มาตรฐานน้ำทิ้งจากอาคารประเภท ค. สอบถามข้อมูลได้ที่ ดร.ลักขณา เบ็ญจวรรณ์ ศูนย์ปฎิบัติการวิจัยและเรือนปลูกพืชทดลอง คณะเกษตร กำแพงแสน มหาวิทยาลัยเกษตรศาสตร์ โทร.0-3435-1399 ต่อ432
รศ.ดร.กรรณิการ์ สัจจาพันธ์ อาจารย์ประจำภาควิชาปฐพีวิทยา คณะเกษตร มหาวิทยาลัยเกษตรศาสตร์ ได้ทำการศึกษาผลกระทบของปริมาณแคดเมียมและสังกะสีที่ปนเปื้อนต่อประชากรจุลินทรีย์ในดินและทำการคัดแยกไรโซแบคทีเรียที่ทนทานต่อแคดเมียมและสังกะสี จากดินบริเวณที่ปลูกต้นสาบเสือ (Chromolaena odorratum)
Read moreผลิตก๊าซชีวภาพจากผักตบชวา ด้วยจุลินทรีย์ธรรมชาติ ช่วยลดปัญหาผักตบชวากีดขวางทางน้ำ โดยนำจุลินทรีย์จากเส้นใยผักตบชวามาผลิตเป็นก๊าซชีวภาพ ช่วยลดรายจ่ายในครัวเรือน ติดต่อได้ที่ คณะศิลปศาสตร์และวิทยาศาสตร์ มหาวิทยาลัยเกษตรศาสตร์ โทร. 0-3428-1105 ผลงานวิจัย ดร.อนามัย ดำเนตร รศ.ดร.จุรีย์รัตน์ ลีสมิทธิ์ คุณขวัญชัย นิ่มอนันต์ คณะศิลปศาสตร์และวิทยาศาสตร์ มหาวิทยาลัยเกษตรศาสตร์ วิทยาเขตกำแพงแสน
Read moreผลิตก๊าซชีวภาพจากผักตบชวา ด้วยจุลินทรีย์ธรรมชาติศักยภาพสูง เพื่อเป็นการขจัดปัญหาผักตบชวา โดยการนำจุลินทรีย์จากเส้นใยผักตบชวา มาผลิตเป็นก๊าซชีวภาพ เพื่อใช้ในการหุงต้มในครัวเรือน ติดต่อสอบถามได้ที่ คณะศิลปศาสตร์และวิทยาศาสตร์ มหาวิทยาลัยเกษตรศาสตร์ วิทยาเขตกำแพงแสน โทร. 0-3428-1105
Read more