ต้นแบบพลาสติกชีวภาพชนิดโคพอลิเมอร์จากสไปรูไลน่าและแกลบ

รศ.ดร.วุฒินันท์ รักษาจิตร์
สาขาวิชาเทคโนโลยีสุขภาพสัตว์ ภาควิชาเทคนิคการสัตวแพทย์
คณะเทคนิคการสัตวแพทย์ มหาวิทยาลัยเกษตรศาสตร์ โทร.02-942-8200 ต่อ 616015  

Read more

การกักเก็บคาร์บอนและการประเมินผลประโยชน์ร่วมของพื้นที่ป่าอนุรักษ์และป่าเศรษฐกิจ ณ สถานีวิจัยและฝึกนิสิตวนศาสตร์วังน้ำเขียว จังหวัดนครราชสีมา

เนื่องจากป่าไม้มีบทบาทสำคัญต่อสมดุลของคาร์บอนในโลก โดยเป็นทั้งแหล่งกักเก็บและแหล่งปลดปล่อยคาร์บอนทำให้มีผลต่อการเปลี่ยนแปลงปริมาณก๊าซคาร์บอนไดออกไซด์ในบรรยากาศ ซึ่งระบบนิเวศป่าไม้มีการสะสมคาร์บอนอยู่ทั้งในส่วนของต้นไม้และดินผ่านกระบวนการสังเคราะห์แสงของพืช การหายใจของสิ่งมีชีวิต และการย่อยสลายของจุลินทรีย์ในรูปของก๊าซคาร์บอนไดออกไซด์ คาร์บอนที่สะสมอยู่ในต้นไม้และดินนั้น IPCC (2006) ได้กำหนดแหล่งสะสมคาร์บอนในสภาพธรรมชาติออกเป็น 5 แหล่ง ได้แก่ แหล่งสะสมคาร์บอนเหนือดิน แหล่งสะสมคาร์บอนใต้ดิน แหล่งสะสมคาร์บอนในไม้ยืนต้นตาย แหล่งสะสมคาร์บอนของซากพืช และแหล่งสะสมคาร์บอนในดิน แต่ในขณะเดียวกันศักยภาพในการกักเก็บคาร์บอนของป่าธรรมชาติมีความผันแปรขึ้นอยู่กับปัจจัยต่างๆ เช่น ชนิดป่า

Read more

แนวทางใหม่ในการลดปริมาณการปล่อยก๊าซ เรือนกระจก : นำก๊าซ CO2ไปผลิตเป็นอัลกอฮอลล์

รศ.ดร.เมตตา เจริญพานิช อาจารย์ประจำภาควิชาวิศวกรรมเคมี คณะวิศวกรรมศาสตร์ มหาวิทยาลัยเกษตรศาสตร์ ใช้แนวคิดในการลดปริมาณของก๊าซคาร์บอนไดออกไซด์โดยการนำมาเปลี่ยนให้เป็นสารเคมีพื้นฐานอื่นที่ไม่ส่งผลให้เกิดสภาวะโลกร้อน ซึ่งเป็นแนวทางที่กำลังได้รับสนใจอย่างมากในปัจจุบัน เพราะนอกจากจะสามารถลดปริมาณก๊าซเรือนกระจกเพื่อลดปัญหาสิ่งแวดล้อมได้แล้ว สารเคมีพื้นฐานที่ผลิตได้ยังสามารถสร้างมูลค่าเพิ่มทางเศรษฐกิจและเป็นการเพิ่มทางเลือกด้านพลังงานทดแทนอีกด้วย

Read more