กาวน้ำยางที่เป็นมิตรต่อสิ่งแวดล้อม
ดร.วีรศักดิ์ สมิทธิพงศ์ และ รศ.ดร.กล้าณรงค์ ศรีรอต
ภาควิชาวัสดุศาสตร์ คณะวิทยาศาสตร์
มหาวิทยาลัยเกษตรศาสตร์ โทร.091-780-9569
ดร.วีรศักดิ์ สมิทธิพงศ์ และ รศ.ดร.กล้าณรงค์ ศรีรอต
ภาควิชาวัสดุศาสตร์ คณะวิทยาศาสตร์
มหาวิทยาลัยเกษตรศาสตร์ โทร.091-780-9569
ผลิตภัณฑ์กาวน้ำ จากหนังปลา ได้พัฒนากรรมวิธีใหม่ในการผลิตกาวน้ำจากปลาน้ำจืดหรือน้ำกร่อย เป็นการเพิ่มมูลค่าและใช้ประโยชน์ทรัพยากรในส่วนของเศษเหลือจากการแปรรูป มาเป็นวัตถุดิบในการผลิตกาวน้ำ ผลิตภัณฑ์จากธรรมชาติที่สามารถผลิตได้เองในประเทศ เพิ่มทางเลือกทดแทนการนำเข้าหรือกาวจากสารเคมีสังเคราะห์ เป็นกาวน้ำที่มีคุณสมบัติโดดเด่น คือมีสีใสโดยธรรมชาติ ไม่ต้องมีกระบวนการฟอกสี เนื่องจากเทคโนโลยีการผลิตกาวแบบเดิมที่ผ่านมานั้น จะได้กาวที่มีสีน้ำตาล ซึ่งต้องมีกระบวนการกำจัดสี และกระบวนการระเหยสารฟอกสีออกไป ดังนั้นกรรมวิธีใหม่ในการผลิตโดยการใช้วิธีการสกัดที่อุณหภูมิต่ำตลอดสายการผลิต สามารถลดปฏิกริยาการเกิดสีน้ำตาลในผลิตภัณฑ์ ลดขั้นตอนการผลิตและลดต้นทุนการผลิตด้วย สอบถามได้ที่ ผศ.ดร. กังสดาลย์ บุญปราบ ภาควิชาผลิตภัณฑ์ประมง คณะประมง มหาวิทยาลัยเกษตรศาสตร์ โทร.0-2942-8644 ต่อ 18
Read moreกาวน้ำผสมจากน้ำยางธรรมชาติ ซึ่งเป็นผลิตภัณฑ์กาวน้ำที่มีส่วนผสมของน้ำยางพาราจากธรรมชาติ คุณสมบัติมีความเหนียวที่ติดดี คุณภาพคงที่ ไม่มีตัวทำลายอินทรีย์ ก่อให้เกิดสารพิษ สามารถลดต้นทุนการนำเข้า และยังเป็นผลิตภัณฑ์กาวน้ำยางที่มีโปรตีนต่ำ ซึ่งจะลดความเสื่ยงในการแพ้โปรตีนจากกาวน้ำยางธรรมชาติ จัดเป็นเทคโนโลยีสีเขียว ที่เป็นมิตรกับสิ่งแวดล้อม
สอบถามได้ที่ ดร.วีรศักดิ์ สมิทธิพงศ์ ภาควิชาวัสดุศาสตร์ คณะวิทยาศาสตร์ มหาวิทยาลัยเกษตรศาสตร์ โทร.0-2942-8290
ผศ.ดร. กังสดาลย์ บุญปราบ อาจารย์ประจำภาควิชาผลิตภัณฑ์ประมง คณะประมง มหาวิทยาลัยเกษตรศาตร์ ได้พัฒนากรรมวิธีใหม่ในการผลิตกาวน้ำจากปลาน้ำจืดหรือน้ำกร่อย เป็นการเพิ่มมูลค่าและใช้ประโยชน์ทรัพยากรในส่วนของเศษเหลือจากการแปรรูป มาเป็นวัตถุดิบในการผลิตกาวน้ำ ผลิตภัณฑ์จากธรรมชาติที่สามารถผลิตได้เองในประเทศ เพิ่มทางเลือกทดแทนการนำเข้าหรือกาวจากสารเคมีสังเคราะห์ เป็นกาวน้ำที่มีคุณสมบัติโดดเด่น คือมีสีใสโดยธรรมชาติ ไม่ต้องมีกระบวนการฟอกสี
Read moreกาวน้ำจากหนังปลา ใช้เพื่อการต่อยอดให้แก่อุตสาหกรรมอื่น ๆ ที่ต้องการคุณสมบัติการติดยึดวัสดุ ทั้งยังช่วยในการเพิ่มมูลค่าจากเศษเหลือทิ้งของหนังปลา สอบถามได้ที่ ผศ.ดร.กังสดาลย์ บุญปราบ ภาควิชาผลิตภัณฑ์ประมง คณะประมง มหาวิทยาลัยเกษตรศาสตร์ โทร.0-2942-8644 ต่อ 18
Read more