ขอเชิญเข้าร่วมอบรมเชิงปฏิบัติการ เรื่อง “AI กับงานวิจัย: บทบาท ความสามารถ และการใช้งานจริง”

เปิดรับสมัครเข้าร่วมอบรม เพิ่มจำนวน 40 คน !! (รวม 90 คน) และแจ้งเปลี่ยนสถานที่จัดอบรม”

สถาบันวิจัยและพัฒนาแห่งมหาวิทยาลัยเกษตรศาสตร์

ขอเชิญอาจารย์และนักวิจัย มก.  

เข้าอบรมเชิงปฏิบัติการ

เรื่อง “AI กับงานวิจัย: บทบาท ความสามารถ และการใช้งานจริง”

โดยวิทยากร รองศาสตราจารย์ ดร.พันธุ์ปิติ เปี่ยมสง่า

และ ผู้ช่วยศาสตราจารย์ ดร.ธนาวินท์ รักธรรมานนท์

  ภาควิชาวิศวกรรมคอมพิวเตอร์ คณะวิศวกรรมศาสตร์

♦ วันและเวลา : วันพุธที่ 12 มีนาคม 2568 เวลา 08.30-16.00 น.

♦ สถานที่ : ห้อง 406 ชั้น 4 สำนักบริการคอมพิวเตอร์

♦ จำนวนที่นั่ง : 50 คน + เพิ่ม 40 คน 

♦ หลักสูตรและกำหนดการอบรม

วันพุธที่ 12 มีนาคม 2568
เวลา 08.30 – 08.45 น. ลงทะเบียน
เวลา 08.45 – 09.00 น. กล่าวเปิดการอบรมฯ
ผู้อำนวยการสถาบันวิจัยและพัฒนาแห่ง มก.
เวลา 09.00 – 16.00 น. เนื้อหาหลักสูตร*
Part 1: Introduction to AI in Research
📌 Overview AI & Machine Learning ในงานวิจัย
• AI และ ML กับการพัฒนาองค์ความรู้
• Generative AI กับการช่วยวิจัย
• Ethical Considerations และข้อจำกัด
📌 AI ใช้ทำอะไรได้บ้างในงานวิจัย?
• Literature Review & Paper Summarization
• Data Analysis & Visualization
• Writing & Editing Assistance
• Peer Review & Evaluation
• Research Proposal & Grant Writing
📌 Case Study ตัวอย่าง AI ที่ช่วยงานวิจัย
• ใช้ AI หาและสรุปงานวิจัย
• ใช้ AI ช่วยเขียนบทความ
• ใช้ AI สำหรับการทำ Data SciencePart 2: AI กับการทำ Research Assistant
📌 เปรียบเทียบ AI กับ Research Assistant แบบดั้งเดิม
• ความสามารถของ AI กับงานที่ Research Assistant ทำ
• ข้อดี-ข้อเสีย ของการใช้ AI แทนนิสิต
📌 AI ใช้ทำอะไรแทนนิสิตผู้ช่วยวิจัยได้?
• ค้นหาข้อมูล → AI ช่วยสรุปงานวิจัยจากหลายแหล่งข้อมูล
• แปลภาษา & Proofreading
• การเขียนโค้ดวิเคราะห์ข้อมูล → AI ช่วยเขียน Python / R สำหรับ Data Analysis
• AI ช่วยประเมินบทความทางวิชาการ → Peer Review ด้วย AI
• สร้างแผนที่องค์ความรู้ (Knowledge Graph) → AI กับ Citation Networks
📌 Hands-on:
• ใช้ AI ค้นหาข้อมูล + สรุปเปเปอร์
• ใช้ AI ช่วยตรวจสอบงานเขียน
• ทดลองใช้ AI ช่วยตรวจสอบ Code และช่วย DebugPart 3: AI กับงานวิเคราะห์ข้อมูล และการสร้าง Visualization
📌 AI กับ Data Analysis
• AI ช่วยวิเคราะห์ข้อมูลวิจัยได้อย่างไร?
• AutoML และ AI-based Statistical Analysis
• AI กับการทำ Meta-Analysis
📌 AI กับ Data Visualization
• AI สร้าง Graph, Charts และ Data Summary
• AI ช่วย Clean Data และ Detect Patterns
📌 Hands-on:
• ใช้ AI สร้าง Data Visualization ด้วย Python
• ทดลองใช้ AutoML ช่วยสร้างโมเดลง่าย ๆ

Part 4: AI กับงานเขียนบทความทางวิชาการ และการเป็นผู้ประเมินบทความ
📌 AI ช่วยเขียนอะไรได้บ้าง?
• Abstract, Introduction, Related Work
• Methodology, Results & Discussion
• Conclusion & Future Work
📌 AI กับงานอ้างอิง (Citation & Referencing)
• ใช้ AI สร้าง Citation อัตโนมัติ
• ตรวจสอบความถูกต้องของ AI-generated citations
📌 Hands-on:
• ใช้ AI เขียน Abstract และ Introduction
• ใช้ AI สรุปบทความเพื่อทำ Related Work
• ใช้ AI ช่วยจัดการอ้างอิงอัตโนมัติ
📌 AI ในงาน Peer Review & Manuscript Evaluation
• AI ใช้ช่วยตรวจสอบบทความที่ส่งตีพิมพ์
• AI ช่วยตรวจจับ Plagiarism และ Paper Quality
📌 Hands-on:
• ทดลองใช้ AI ประเมิน Abstract และ Introduction
• ใช้ AI วิเคราะห์จุดอ่อนของงานวิจัย

*หลักสูตรอาจมีการปรับเปลี่ยนได้ตามความเหมาะสม

♦ ลงทะเบียนเข้าร่วมฟังบรรยายพิเศษ [คลิก] หรือ สแกนคิวอาร์โค๊ดด้านล่าง

 

♦ รายชื่อผู้เข้าอบรมและ Waiting list [คลิก]

 

ติดต่อสอบถามข้อมูลเพิ่มเติม

คุณธีรศักดิ์ สุนทรา (ฝ่ายพัฒนาศักยภาพการวิจัย)

สายใน 61-1806, 61-1459 หรือ สายนอก 02-942-8455 

E-mail : theerasak.su@ku.th

และคุณนันทิศักดิ์ ประทีปสุข (ฝ่ายสารสนเทศงานวิจัย)

สายใน 611459 หรือ สายนอก 02-561-4640

E-mail : rdinsp@ku.ac.th