head.jpg (29247 bytes)
wpe3.jpg (14438 bytes)

เลือกคู่ผสมที่ต้านทาน
และไม่ต้านทาน
Kil4 = resistance
Hi31 = susceptible
wpe4.jpg (1146 bytes)
สร้างประชากรสำหรับวางแผนที่จีโนม
recombinant inbred line (RIL)
G-set 113 lines
wpe6.jpg (1610 bytes)wpe7.jpg (2905 bytes)

ทดสอบ DNA marker ที่ให้ความ
ต่างของพ่อแม่

wpe8.jpg (1100 bytes)

DNA maker ที่ให้ความแตกต่าง 130 loci    นำมาแยกความแตกต่าง
ว่า เหมือนพ่อหรือแม่ในประชากร RILs 113 lines
wpe9.jpg (8596 bytes)

           จากอดีตจนถึงปัจจุบัน โรคราน้ำค้าง (downy mildew)
ที่เกิดจากเชื้อ
Peronorelerospera sorghi ยังเป็นโรคที่
สำคัญและสร้างความเสียหายห้กับเกษตรกรที่ปลูกข้าวโพดมากที่
สุดเนื่องใจากสภาพภูมิอากาศร้อนชื้นฝนตกชุกในเขตประเทศไทย
ทำให้เกิดการระบาดอย่างหนักแม้ว่าจะสามารถป้องกันการเกิดโรค
โดยการใช้สารเคมี เช่น Apron ในพันธุ์การค้าที่ผลิตโดยบริษัท
เอกชนซึ่งส่วนใหญ่ยังไม่ให้ความสำคัญของการสร้างพันธุ์ต้าน
ทานมากนักการใช้สารเคมีคลุกเมล็ดนี้พบว่าเป็นค่าใช้จ่ายในการ
ผลิตเมล็ดพันธุ์ถึงครึ่งหนึ่งฉะนั้นวิธีการในการสร้างพันธุ์ต้านทาน
จึงเป็นวิธีที่ดีที่สุดทั้งในแง่เศรษฐกิจและการควบคุมการระบาดของ
โรค ประกอบกับในปัจจุบันมีการพัฒนาเทคโนโลยีด้าน DNA
marker มาใช้ประโยชน์ในการปรับปรุงพันธุ์อย่างกว้างขวางและ
ก้าวหน้าไปมากโดยเฉพาะอย่างยิ่งในข้าวโพดทำให้การวางแผนที่
จีโนมทำได้ง่ายและรวดเร็วขึ้น เช่น การใช้
RFLP marker และ
SSR marker
เป็นต้น   เมื่อได้แผนที่ของจีโนมแล้วนำมารวมกับ
ข้อมูลทางด้าน phenotypeก็จะ สามารถสร้างเป็น QTL map
ซึ่งจะบอกให้ทราบว่ามียีนต้านทานโรคราน้ำค้าง อยู่บริเวณ ใดของ
โครโมโซม DNA marker ที่วางชิดกับยีนดังกล่าวก็จะนำไปใช้
ประโยชน์ในการปรับปรุงพันธุ์แบบ Marker assisted selection
เพื่อช่วยให้การคัดเลือกพันธุ์ที่มีความต้านทานได้ถูกต้องและรวดเร็ว

ทดสอบคุณสมบัติการต้านทานโรครา
น้ำค้างของประชากรในสภาพแปลง

wpeA.jpg (1556 bytes)

wpeB.jpg (8223 bytes)

ข้อมูล genotype และ phenotype นำมาสร้างเป็น linkage map และ QTL map ด้วยโปรแกรม Gmendel
wpe11.jpg (1965 bytes)

wpe10.jpg (11819 bytes)
DNA markerที่วางตัวใกล้กับยีนสามารถใช้เป็นเครื่องมือ
mสำหรับคัดเลือก พันธุ์ต้านทาน Marker assisted
selection ในการปรับปรุงพันธุ์
wpeD.jpg (1569 bytes)
wpeF.jpg (4888 bytes)
wpeE.jpg (10641 bytes)