หน่วยปฏิบัติการค้นหาและใช้ประโยชน์ยีนข้าว ศูนย์วิทยาศาสตร์ข้าว
มหาวิทยาลัยเกษตรศาสตร์ วิทยาเขตกำแพงแสน
อ.กำแพงแสน จ.นครปฐม 73140
โทรศัพท์ 034-355193 ต่อ 116 โทรสาร 034-355197
e-mail: vanavichit@gmail.com
|
ประวัติการศึกษา
ปริญญา |
สถานศึกษา |
เดือน/ปีที่จบการศึกษา |
วท.บ. (เกษตรศาสตร์) |
มหาวิทยาลัยเกษตรศาสตร์ |
2521 |
วท.ม. (เกษตรศาสตร์) |
มหาวิทยาลัยเกษตรศาสตร์ |
2524 |
Ph. D. (CropScience) |
Oregon State University |
2532 |
ประวัติการทำงานที่ภาควิชาพืชไร่นา คณะเกษตร
ตำแหน่ง |
เดือน/ปีที่เริ่มครองตำแหน่ง |
อาจารย์ |
1 มิถุนายน 2526 |
ผู้ช่วยศาสตราจารย์ |
5 มกราคม 2538 |
รองศาสตราจารย์ |
2 มกราคม 2545 |
เครื่องราชอิสริยาภรณ์ที่ได้รับ
เครื่องราชาอิสริยาภรณ์ |
เดือน/ปีที่ได้รับ |
ทวีติยาภรณ์ช้างเผือก |
5 ธันวาคม พ.ศ. 2543 |
ปรมาภรณ์มงกุฎไทย |
5 ธันวาคม พ.ศ. 2546 |
ตำแหน่งบริหารและตำแหน่งพิเศษที่ได้รับแต่งตั้ง
ปี พ.ศ. |
ตำแหน่งที่ได้รับแต่งตั้ง |
2537-ปัจจุบัน |
หัวหน้าศูนย์พันธุกรรมและเทคโนโลยีชีวภาพทางการเกษตร |
2546-ปัจจุบัน์ |
ผู้อำนวยการหน่วยปฏิบัติการค้นหาและใช้ประโยชน์ยีนข้าว |
2548-ปัจจุบัน |
ผู้อำนวยการศูนย์วิทยาศาสตร์ข้าว |
2548-ปัจจุบัน |
เลขานุการศูนย์วิทยาศาสตร์เทคโนโลยีชีวภาพทางการเกษตรแห่งชาติ |
รางวัลเชิดชูเกียรติที่เคยได้รับ
ชื่อรางวัล/เกียรติยศ |
จากสถาบัน/สถานศึกษา/องค์กร |
ปีที่ได้รับ |
นักวิจัยดีเด่นของมหาวิทยาลัยเกษตรศาสตร์ ในวาระเฉลิมฉลองครบรอบ 25 งานวิจัยและพัฒนา |
มหาวิทยาลัยเกษตรศาสตร์ |
2546 |
รางวัลชนะเลิศอันดับที่ 3 พัฒนาพันธุ์ข้าวปิ่นเกษตร |
2nd World Rice Competition |
2547 |
รางวัลนักวิจัยดีเด่นสาขาเกษตรศาสตร์และชีวภาพ
ประจำปี 2549
|
สภาวิจัยแห่งชาติ |
2549 |
รางวัลเกียรติคุณบุคคลด้านการวิจัยการเกษตรเชิงพาณิชย์ดีเด่น ประจำปี 2551 |
สำนักงานพัฒนาการวิจัยการเกษตร (องค์การมหาชน) |
2551 |
ผลงานที่สร้างชื่อเสียงโดยสรุป
- ค้นพบยีนความหอมและเข้าใจหน้าที่ของยีนในการกำหนดปริมาณสารหอมในข้าว (อยู่ระหว่างการจดสิทธิบัตรใน 7 ประเทศ)
- เป็นผู้ที่ทำงานวิจัย และมีผลงานตีพิมพ์มากที่สุดคนหนึ่งในสาขาเกษตรศาสตร์ของประเทศไทย โดยตีพิมพ์เอกสารวิจัยด้านการปรับปรุงพันธุ์พืช พันธุศาสตร์ สถิติ และพืชไร่ทั่วไป ในวารสารต่าง ๆ ทั้งในประเทศและนานาชาติกว่า 60 เรื่อง
- ตีพิมพ์ผลงานในรายงานการประชุม (Proceedings) ทั้งในประเทศและนานาชาติกว่า 100 เรื่อง
- เรียบเรียงเอกสารประกอบการฝึกอบรม ทั้งในประเทศและนานาชาติ กว่า 25 เรื่อง
- เรียบเรียงตำราและเอกสารคำสอน ทั้งเรียบเรียงผู้เดียวและร่วมกับผู้อื่น ประมาณ 12 เล่ม
- เป็นประธานที่ปรึกษาและกรรมการที่ปรึกษาของนิสิตปริญญาเอกและโท ทั้งในมหาวิทยาลัยเกษตรศาสตร์และมหาวิทยาลัยอื่น ๆ ที่จบการศึกษาไปแล้วกว่า 100 คน และเป็นกรรมการในปัจจุบันอีกกว่า 30 คน ผู้ที่จบการศึกษาไปแล้ว เป็นกำลังสำคัญในวงการปรับปรุงพันธุ์ข้าวของไทย ทั้งภาครัฐและเอกชน อยู่ในปัจจุบัน
- สามารถปรับปรุงพันธุ์ข้าวสายพันธุ์ใหม่ ที่เป็นที่ต้องการและเป็นที่นิยมทังในระดับชาติและในระดับนานาชาติ ได้อย่างต่อเนื่องมากกว่า 10 สายพันธุ์
ผลงานวิจัย
New Rice Varieties
High Nutrition Rice
Jao Hom Nin (Purple rice) KDJH #1000
Jao Hom Nuan (White rice) KDJH #313
High Quality Aromatic Rice
Pin Kaset (Award winning from the 2nd World Rice Competition, 2004, Thailand )
Super Jasmine Rice
Triluck (Jasmine rice with submergence tolerance, Bacterial leaf blight resistance and
Brown planthopper tolerance)
Book Chapters
- Vanavichit, A. Tragoonrung, S. and Toojinda, T. 2005 Chapter 5: Mapping and Positional Cloning with Emphasis on Plant Science. Handbook of Genome Research (Volume 1), Sensen, C.W. (ed),. Wiley-VCH pp. 105-123.
- Vanavichit, A. Tragoonrung, S. and Toojinda, T. 2005. Chapter 7: Molecular Genetics and Breeding for Flooding Tolerance. In H. Ashraf and P.J.C. Harris (eds) Abiotic stresses: Plant Resistance Through Breeding and Molecular Approaches. Harworth Press, 2005, 177-207.
- Vanavichit, A. Tragoonrung, S. and Toojinda, T. 2001. Chapter 7: Genomic Mapping and Positional Cloning, with Emphasis on Plant Science. In Biotechnology Vol. 5b: Genomics and Bioinformatics, Sensen, C.W. (ed), Wiley-VCH, 165-182.
- อภิชาติ วรรณวิจิตร, สมวงษ์ ตระกูลรุ่ง และธีรยุทธ ตู้จินดา. 2548. บทที่ 4 ข้าว-มัน-กุ้ง ในวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยีกับข้าวไทย, ศูนย์พันธุวิศวกรรมและเทคโนโลยีชีวภาพแห่งชาติ, สำนักงานพัฒนาวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยีแห่งชาติ, ISBN 974-93224-1-X, หน้า 61-78.
- อภิชาติ วรรณวิจิตร, ศิริพัฒน์ เรืองพยัคฆ์, สมศักดิ์ แซ่ซู้, อนุชา พลับพลา, นงนาถ พ่อค้า, สุพัฒน์ ทองเจือ, ธีรยุทธ ตู้จินดา. 2547. Nutritional genomics จีโนมิกส์ด้านโภชนาการข้าว. Science Today ฉบับที่ 6 : 2 – 10.
- วินธัย กมลสุขยืนยง, สามารถ วันชะนะ, ศิริพัฒน์ เรืองพยัคฆ์, สมวงษ์ ตระกูลรุ่ง, อภิชาติ วรรณวิจิตร. 2546. ยีนความหอมของข้าวหอมมะลิ. Lab Today ฉบับที่ 9 : 66 – 69.
- วินิตชาญ รื่นใจชน, มีชัย เซี่ยงหลิว, ดวงใจ แสงสระคู, เอกภพ นิ่มเล็ก, สมวงษ์ ตระกูลรุ่ง, อภิชาติ วรรณวิจิตร. 2546. ข้าวทนน้ำท่วม…ความฝันของชาวนาไทย. Lab Today ฉบับที่ 8 : 62 – 65.
- อภิชาติ วรรณวิจิตร. 2545. 5 ปี ของการเข้าร่วมโครงการวิจัยจีโนมข้าวนานาชาติ ประเทศไทยได้อะไร. Lab Today ฉบับที่ 7: 12 – 18.
- อภิชาติ วรรณวิจิตร 2544 บทที่ 6 การค้นหายีนทั้งหมดในข้าวไทย ในวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยีกับข้าวไทย, ศูนย์พันธุวิศวกรรมและเทคโนโลยีชีวภาพแห่งชาติ, สำนักงานพัฒนาวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยีแห่งชาติ, ISBN 974-7360-54-3, หน้า 133-143
- สมวงษ์ ตระกูลรุ่ง, อภิชาติ วรรณวิจิตร. 2544. บทที่ 5 เทคโนโลยีดีเอนเอกับการควบคุมคุณภาพข้าว ในวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยีกับข้าวไทย, ศูนย์พันธุวิศวกรรมและเทคโนโลยีชีวภาพแห่งชาติ, สำนักงานพัฒนาวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยีแห่งชาติ, ISBN 974-7360-54-3, หน้า 122-132
- อภิชาติ วรรณวิจิตร, สมวงษ์ ตระกูลรุ่ง และธีรยุทธ ตู้จินดา. 2544 บทที่ 2 เทคโนโลยีชีวภาพกับ การปรับปรุงพันธุ์ข้าว ในวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยีกับข้าวไทย, ศูนย์พันธุวิศวกรรมและเทคโนโลยีชีวภาพแห่งชาติ, สำนักงานพัฒนาวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยีแห่งชาติ, ISBN 974-7360-54-3, หน้า 79-121
|