รายละเอียดโครงการวิจัยและงานสร้างสรรค์ มหาวิทยาลัยเกษตรศาสตร์ (ยกเว้นทุนอุดหนุนวิจัย มก.)
ประจำปีงบประมาณ พ.ศ. 2554 ( 1 ตุลาคม 2553 - 30 กันยายน 2554 )
วิทยาเขต วิทยาเขตกำแพงแสน สถาบันวิจัยและพัฒนา กำแพงแสน ทุกภาควิชา
ประเภทแหล่งทุน : เงินภายนอกมหาวิทยาลัยฯ

ลำดับชื่อโครงการวิจัยหัวหน้า
โครงการ
หน่วยงานระยะเวลา
ดำเนินงานวิจัย
งบประมาณแหล่งทุน
1การพัฒนาต้นแบบระบบหมักขยะอินทรีย์แบบใช้อากาศและอุปกรณ์ช่วยผสมอัตโนมัติสำหรับบ้านเรือนและองค์กรชุมชนดร.ลักขณา เบ็ญจวรรณ์สถาบันวิจัยและพัฒนา กำแพงแสน
ฝ่ายปฏิบัติการวิจัยและเรือนปลูกพืชทดลอง
10/2553-9/25541,210,000.00สำนักงานคณะกรรมการวิจัยแห่งชาติ
2การสร้างสายพันธุ์ดับเบิลแฮพลอยด์ของพริกดร.อัญชลี รวีโรจน์วิบูลย์สถาบันวิจัยและพัฒนา กำแพงแสน
ฝ่ายปฏิบัติการวิจัยและเรือนปลูกพืชทดลอง
7/2554-6/2555470,000.00ศูนย์พันธุวิศวกรรมและเทคโนโลยีชีวภาพห่งชาติ สำนักงานพัฒนาวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยีแห่งชาติ
3การถ่ายทอดเทคโนโลยีการผลิตต้นกล้าไม้ดอกไม้ประดับเพื่อสร้างอาชีพเสริมดร.รงรอง หอมหวลสถาบันวิจัยและพัฒนา กำแพงแสน
ฝ่ายปฏิบัติการวิจัยและเรือนปลูกพืชทดลอง
10/2553-9/2554250,000.00กระทรวงวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี
4เทคนิคการขยายพันธุ์เพื่อการผลิตฟักข้าวในเชิงพาณิชย์ดร.เนตรชนก เกียรติ์นนทพัทธ์สถาบันวิจัยและพัฒนา กำแพงแสน
ฝ่ายปฏิบัติการวิจัยและเรือนปลูกพืชทดลอง
10/2553-10/2554230,000.00สำนักงานคณะกรรมการวิจัยแห่งชาติ
5การตรวจสอบคุณภาพและความบริบูรณ์ของผลมะพร้าวอ่อนแบบไม่ทำลายด้วยเทคนิค NIRs เพื่ออุตสาหกรรมการส่งออกดร.พีรพงษ์ แสงวนางค์กูลสถาบันวิจัยและพัฒนา กำแพงแสน
ศูนย์เทคโนโลยีหลังการเก็บเกี่ยว
12/2553-9/2554339,800.00ศูนย์นวัตกรรมเทคโนโลยีหลังการเก็บเกี่ยว (มหาวิทยาลัยเชียงใหม่)และ สำนักงานคณะกรรมการอุดมศึกษา
6การบ่มผลมะละกอระดับการค้าเชิงพาณิชย์และการให้คำปรึกษาเพื่อลดการสูญเสียของผลมะละกอหลังการเก็บเกี่ยวดร.พีรพงษ์ แสงวนางค์กูลสถาบันวิจัยและพัฒนา กำแพงแสน
ศูนย์เทคโนโลยีหลังการเก็บเกี่ยว
1/2554-8/2555314,500.00บริษัท ซี.โอ. สวนสระแก้ว จำกัด (C.O. Suansrakaew Co., Ltd.) และ โครงการสนับสนุนการพัฒนาเทคโนโลยีของอุตสาหกรรมไทย (ITAP) สำนักงานพัฒนาวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยีแห่งชาติ (สวทช.)
7คุณค่าทางโภชนาการและสารออกฤทธิ์ของผลไม้ตระกูลส้มในภาคใต้ดร.พีรพงษ์ แสงวนางค์กูลสถาบันวิจัยและพัฒนา กำแพงแสน
ศูนย์เทคโนโลยีหลังการเก็บเกี่ยว
6/2554-5/2555369,200.00สำนักงานกองทุนสนับสนุนการวิจัย
8การฉายรังสีลิ้นจี่เพื่อการส่งออกดร.ธีรนุต ร่มโพธิ์ภักดิ์สถาบันวิจัยและพัฒนา กำแพงแสน
ศูนย์เทคโนโลยีหลังการเก็บเกี่ยว
1/2554-9/2554400,000.00บริษัท ศูนย์ประสานงานความร่วมมือไทย-สหรัฐอเมริกาเพื่อการส่งออกผลไม้ จำกัดThai-USA Cooperation Center for Fruit Export Company Limited
9การถ่ายทอดเทคโนโลยีการจัดการหลังการเก็บเกี่ยวเงาะให้ได้คุณภาพเพื่อลดความสูญเสียดร.ธีรนุต ร่มโพธิ์ภักดิ์สถาบันวิจัยและพัฒนา กำแพงแสน
ศูนย์เทคโนโลยีหลังการเก็บเกี่ยว
4/2554-9/255470,000.00ศูนย์นวัตกรรมเทคโนโลยีหลังการเก็บเกี่ยว มหาวิทยาลัยเชียงใหม่
10การปฏิบัติงานวิเคราะห์หลังการเก็บเกี่ยวด้วยเครื่อง HPLCดร.ธีรนุต ร่มโพธิ์ภักดิ์สถาบันวิจัยและพัฒนา กำแพงแสน
ศูนย์เทคโนโลยีหลังการเก็บเกี่ยว
4/2554-9/255445,000.00ศูนย์นวัตกรรมเทคโนโลยีหลังการเก็บเกี่ยว มหาวิทยาลัยเชียงใหม่
11การยืดอายุการเก็บรักษาขนุนตัดแต่งสดด้วยฟิล์มเคลือบบริโภคได้จากไคโตซานและเจลาตินดร.อภิตา บุญศิริสถาบันวิจัยและพัฒนา กำแพงแสน
ศูนย์เทคโนโลยีหลังการเก็บเกี่ยว
10/2553-9/2554193,600.00ศูนย์นวัตกรรมเทคโนโลยีหลังการเก็บเกี่ยว มหาวิทยาลัยเชียงใหม่ และบริษัทสยามโอเรียลท้อลฟู้ด จำกัด
12ฟิล์มเคลือบบริโภคได้จากไคโตซานและเจลาตินสำหรับรักษาคุณภาพและยืดอายุการเก็บรักษาผลไม้ไทยตัดแต่งพร้อมบริโภค 4 ชนิดดร.อภิตา บุญศิริสถาบันวิจัยและพัฒนา กำแพงแสน
ศูนย์เทคโนโลยีหลังการเก็บเกี่ยว
1/2554-9/25541,322,000.00บริษัทไบโอแลปจำกัด
13โครงการถ่ายทอดเทคโนโลยีการใช้สารเคลือบผิวและเคลือบเนื้อผลไม้บริโภคได้เพื่อยืดอายุการเก็บรักษาผักและผลไม้เมืองร้อนดร.อภิตา บุญศิริสถาบันวิจัยและพัฒนา กำแพงแสน
ศูนย์เทคโนโลยีหลังการเก็บเกี่ยว
6/2554-9/2554150,000.00ศูนย์นวัตกรรมเทคโนโลยีหลังการเก็บเกี่ยว มหาวิทยาลัยเชียงใหม่
14สารเอทีฟอนตกค้างในผลทุเรียนสดส่งออกและการป้องกันดร.พีรพงษ์ แสงวนางค์กูลสถาบันวิจัยและพัฒนา กำแพงแสน
ศูนย์เทคโนโลยีหลังการเก็บเกี่ยว
9/2554-8/2555280,390.00ศูนย์นวัตกรรมเทคโนโลยีหลังการเก็บเกี่ยว (มหาวิทยาลัยเชียงใหม่)และ สำนักงานคณะกรรมการอุดมศึกษา
รวมงบประมาณทั้งสิ้น5,644,490.00