กรรมวิธีการผลิตน้ำยางธรรมชาติ ที่ทำให้ความหนืดคงที่และลดมอดูลัส

รองศาสตราจารย์ ดร.วีรศักดิ์ สมิทธิพงศ์
ภาควิชาวัสดุศาสตร์ คณะวิทยาศาสตร์
มหาวิทยาลัยเกษตรศาสตร์ โทร. 09-1780-9569

Read more

การใช้ประโยชน์จากไม้ยางพาราเพื่อเป็นวัสดุก่อสร้าง และโครงสร้างทนไฟ

รศ. ทรงกลด จารุสมบัติ
ภาควิชาวนผลิตภัณฑ์ คณะวนศาสตร์
มหาวิทยาลัยเกษตรศาสตร์ โทร. 08-1914-0575

Read more

กาวน้ำยางที่เป็นมิตรต่อสิ่งแวดล้อม

ดร.วีรศักดิ์ สมิทธิพงศ์ และ รศ.ดร.กล้าณรงค์ ศรีรอต
ภาควิชาวัสดุศาสตร์ คณะวิทยาศาสตร์
มหาวิทยาลัยเกษตรศาสตร์  โทร.091-780-9569

Read more

ขอเชิญเข้าร่วม การประชุมเรื่อง ยุทธศาสตร์ยางพาราระยะ 20 ปี กับการพัฒนาโจทย์วิจัยด้านยางพารา

ฝ่ายพัฒนาศักยภาพการวิจัย สถาบันวิจัยและพัฒนาแห่ง มก. ขอเชิญเข้าร่วม “การประชุมเรื่อง ยุทธศาสตร์ยางพาราระยะ 20 ปี กับการพัฒนาโจทย์วิจัยด้านยางพารา” วันพุธที่ 26 ตุลาคม พ.ศ.2565 เวลา 10.00-12.00 น. ผ่านระบบการประชุมออนไลน์ Cisco webex นำโดย รศ.ดร.วีรศักดิ์

Read more

นวัตกรรมผลิตภัณฑ์จากยางพาราเพื่อประยุกต์ใช้ด้านวัสดุก่อสร้างและวัสดุเชิงประกอบเพื่อการพัฒนาสุขภาวะอย่างยั่งยืน

ผศ.ดร.ปารเมศ กำแหงฤทธิรงค์
ภาควิชานวัตกรรมอาคาร คณะสถาปัตยกรรมศาสตร์
มหาวิทยาลัยเกษตรศาสตร์
โทร 02-942-8960 Email: archpmk@ku.ac.th

Read more

การรับข้อเสนอโครงการวิจัยเพื่อขอรับทุนสนับสนุนการศึกษาวิจัยเกี่ยวกับยางพารา ประจำปี 2564

ผู้สนใจสามารถส่งข้อเสนอโครงการเชิงหลักการ ฯ สามารถดาวน์โหลดรายละเอียด และแบบฟอร์มข้อเสนอเชิงหลักการได้ที่:  https://www.rubber.co.th/ewt_news.php?nid=89333 การส่งข้อเสนอโครงการวิจัย ภายในวันที่ 15 ธันวาคม 2563 ประกาศเพื่อขอรับทุน ปี 2564 แบบฟอร์ม ว.1 คู่มือการขอทุน ฯ

Read more

สวพ.มก. จัดประชุมชี้แจงทุนวิจัยมุ่งเป้ากลุ่มเรื่องยางพารา สำนักงานการวิจัยแห่งชาติ (วช.) ปีงบประมาณ 2564

สถาบันวิจัยและพัฒนาแห่งมหาวิทยาลัยเกษตรศาสตร์ จัดประชุมชี้แจงทุนวิจัยมุ่งเป้ากลุ่มเรื่องยางพารา สำนักงานการวิจัยแห่งชาติ (วช.) ปีงบประมาณ 2564 “แนวทางการสนับสนุนทุนวิจัยมุ่งเป้ากลุ่มเรื่องยางพารา สำนักงานการวิจัยแห่งชาติ (วช.) ปีงบประมาณ 2564” “โจทย์การวิจัยเรื่อง ยางพาราที่สำคัญในปี 2564” โดย ผศ. ดร.วีรศักดิ์ สมิทธิพงศ์ หัวหน้าสำนักงานบูรณาการวิจัยมุ่งเป้า กลุ่มเรื่องยางพารา

Read more

เครื่องวิเคราะห์ปริมาณเนื้อยางแห้งในน้ำยางพารา

การซื้อขายน้ำยางพาราในปัจจุบันจะใช้ปริมาณเนื้อยางแห้ง (Dry Rubber Content , DRC) เป็นดัชนีในการบ่งบอกราคาการซื้อขาย หากน้ำยางนั้นมีปริมาณเนื้อยางแห้งสูงก็จะได้ราคาที่สูงกว่าน้ำยางที่มีเนื้อยางแห้งต่ำ ปัจจุบันการหาปริมาณเนื้อยางแห้งในการซื้อขายจะอาศัยวิธีมาตรฐาน มีหลายขั้นตอน และต้องใช้เวลาในการอบ 12-18 ชั่วโมง ดังนั้น ตลอดทั้งกระบวนการใช้เวลาในการวิเคราะห์นาน จึงเป็นเหตุให้เกิดความคลางแคลงใจในการซื้อขายน้ำยาง อีกทั้งยังต้องใช้สารเคมีในการวิเคราะห์ ดังนั้นการวิเคราะห์หาปริมาณเนื้อยางแห้งในน้ำยางพาราอย่างรวดเร็ว แม่นยำและเชื่อถือได้ จึงเป็นที่ต้องการ

Read more

เครื่องวิเคราะห์ปริมาณเนื้อยางแห้งในน้ำยางพารา

ผศ.ดร.รณฤทธิ์ ฤทธิรณ
ภาควิชาวิศวกรรมการอาหาร คณะวิศวกรรมศาสตร์ กำแพงแสน
มหาวิทยาลัยเกษตรศาสตร์ วิทยาเขตกำแพงแสน

Read more