ต้นแบบระบบบำบัดน้ำเสีย ณ แหล่งกำเนิด สำหรับโฮมสเตย์และรีสอร์ท

ดร.ลักขณา เบ็ญจวรรณ์
ศูนย์ปฎิบัติการวิจัยและเรือนปลูกพืชทดลอง คณะเกษตร กำแพงแสน
มหาวิทยาลัยเกษตรศาสตร์ โทร.09-4463-5614

Read more

การผลิตไฟฟ้าจากน้ำเสียปิโตรเลียมในเซลไฟฟ้าชีวภาพ

กระบวนการบำบัดน้ำเสียไม่ว่าจะเป็นกระบวนการทางกายภาพ ทางเคมี หรือทางชีวภาพ ล้วนแล้วแต่ใช้พลังงานและทรัพยากรทั้งสิ้น ทำให้การบำบัดน้ำเสียนั้นมีต้นทุนที่สูง แต่จัดเป็นเรื่องที่สำคัญต่อคุณภาพสิ่งแวดล้อมเป็นอย่างมาก โดยเฉพาะน้ำเสียที่มีลักษณะย่อยสลายยาก ในขณะเดียวกันโลกกำลังเผชิญกับวิกฤติพลังงาน ในการหาแหล่งพลังงานทดแทน จึงกลายเป็นประเด็นที่สำคัญมากในปัจจุบัน เซลไฟฟ้าชีวภาพ (microbialfuel cell – MFC) เป็นเซลไฟฟ้าที่ผลิตไฟฟ้าโดยใช้อิเลกตรอนจากการย่อยสลายสารอบินทรีย์โดยแบคทีเรีย ซึ่งในธรรมชาติมีแบคทีเรียหลากหลายประเภทที่ใช้สารอินทรีย์เป็นแหล่งอาหาร และแหล่งพลังงานได้ เซลไฟฟ้าชีวภาพจัดเป็นแหล่งพลังงานทดแทนที่น่าสนใจ สารอินทรีย์หลากหลายประเภทสามารถใช้เป็นแหล่งอาหารของแบคทีเรียได้

Read more

การผลิตถ่านกัมมันต์จากชานอ้อย

การผลิตถ่านกัมมันต์จากชานอ้อย เพื่อสิ่งแวดล้อม เป็นนวัตกรรมใหม่ เพื่อใช้ในการบำบัดหรือกำจัดมลสารที่ปนเปื้อนอยู่ในน้ำเสีย โดยอาศัยการดูดซับ ซึ่งถ่านกัมมันต์มีความสามารถในการดูดซับสูง เนื่องจากมีพื้นผิวมาก มีความจุในการดูดซับสูง สามารถดููดซับโลหะชนิดต่าง ๆ ได้หากนำไปใช้ในภาคอุตสาหกรรม ก็จะช่วยในการลดปริมาณโลหะหนัก และลดปริมาณน้ำเสีย ก่อนทิ้ง ถ่านกัมมันต์ยังสามารถใช้ในการดูดสีและดูดกลิ่น ซึ่งงานวิจัยนี้ ใช้วิธีทางกายภาพ โดยใช้ไอน้ำ ต้นทุนในการผลิตอยู่ที่ราคาประมาณ 20 บาท/กิโลกรม สอบถามได้ที่ ผศ.ดร.ศิริกาญจนา ทองมี ภาควิชาฟิสิกส์ คณะวิทยาศาสตร์ มหาวิทยาลัยเกษตรศาสตร์ โทร.0-2942-8025

Read more

ต้นแบบระบบบำบัดน้ำเสีย

ต้นแบบระบบบำบัดน้ำเสีย สำหรับโฮมสเตย์และรีสอร์ท เป็นการพัฒนาออกแบบระบบบำบัดน้ำเสีย เพื่อใช้เป็นต้นแบบสำหรับการบำบัดน้ำเสียของธุรกิจที่พักประเภทโฮมสเตย์และรีสอร์ท โดยเลือกรูปแบบระบบบำบัด 3 รูปแบบ
1. ระบบบึงประดิษฐ์แบบน้ำไหลใต้ผิวดินในแนวนอน
2. ระบบผสมผสานโดยใช้จุลินทรีย์แบบตรึงฟิล์มร่วมกับบึงประดิษฐ์แบบน้ำไหลใต้ผิวดินในแนวนอน และ
3 ระบบบำบัดสำเร็จรูปแบบเบ็ดเสร็จ
ซึ่งเป็นการประยุกต์ระหว่างการเติมอากาศ และบึงประดิษฐ์ สามารถบำบัดน้ำเสียที่มีค่าบีโอดี ทีเคเอ็น และของแข็งแขวนลอย อยู่ในช่วง 1-500 mg/L 2-85 mg/L และ 9-228 mg/L เพิ่อให้ได้น้ำทิ้งที่มีค่าบีโอดีน้อยกว่า 40 mg/L ซึ่งผ่านเกณฑ์มาตรฐานน้ำทิ้งจากอาคารประเภท ค. สอบถามข้อมูลได้ที่ ดร.ลักขณา เบ็ญจวรรณ์ ศูนย์ปฎิบัติการวิจัยและเรือนปลูกพืชทดลอง คณะเกษตร กำแพงแสน มหาวิทยาลัยเกษตรศาสตร์ โทร.0-3435-1399 ต่อ432

Read more

การฝึกอบรมเชิงปฏิบัติการ เรื่อง การตรวจวิเคราะห์คุณภาพนํ้าดีและน้ำเสียเบื้องต้น รุ่นที่ ๒

โครงการฝึกอบรมเชิงปฏิบัติการ   เรื่อง การตรวจวิเคราะห์คุณภาพนํ้าดีและน้ำเสียเบื้องต้น รุ่นที่ ๒ ระหว่างวันที่ ๒๗-๒๘ มกราคม ๒๕๕๗ น้ำจัดเป็นทรัพยากรธรรมชาติที่สำคัญในการดำรงชีวิตทั้งมนุษย์ พืชและสัตว์ สำหรับมนุษย์นั้นน้ำเป็นปัจจัยพื้นฐานสำคัญต่อการดำรงชีวิต เพราะนอกจากนำมาใช้ด้านการบริโภคแล้ว ยังนำมาใช้ทางด้านการเกษตรกรรม อุตสาหกรรม คมนาคมขนส่ง   และอื่นๆอีกมากมาย ปัจจุบันคุณภาพน้ำในแหล่งน้ำต่างๆทั่วประเทศ โดยเฉพาะในบริเวณที่มีความหนาแน่นของชุมชน

Read more