ข้าวโพดเลี้ยงสัตว์พันธุ์ผสมเปิด สุวรรณ 5

  ข้าวโพดพันธุ์สุวรรณ 5 เป็นข้าวโพดพันธุ์แรกของประเทศไทยที่ได้รับการวิจัยและพัฒนาขึ้นมาเพื่อแนะนำให้เกษตรกรใช้ในการเลี้ยงโคนมในรูปข้าวโพดหมักซึ่งเป็นอาหารหยาบที่มีคุณค่าทางอาหารสูง เป็นการช่วยลดต้นทุนในการเลี้ยงโคนม โดยลดปริมาณการใช้อาหารข้นที่มีราคาแพง นอกจากนี้ พันธุ์สุวรรณ 5 ยังเป็นพันธุ์ผสมเปิดที่มีศักยภาพในการให้ผลผลิตสูงสุดในกลุ่มพันธุ์ผสมเปิดที่ส่งเสริมให้เกษตรกรใช้ปลูก ประวัติการพัฒนาพันธุ์ โครงการปรับปรุงพันธุ์ข้าวโพดของมหาวิทยาลัยเกษตรศาสตร์มีพันธุ์ผสมเปิด (open-pollinated varieties) ที่ดีเด่นหลายพันธุ์ที่มีผลผลิต และลักษณะทางพืชไร่อื่น ๆ ใกล้เคียงกับพันธุ์สุวรรณ 1 และได้ปรับปรุงพันธุ์โดยวิธีการคัดเลือกแบบหมุนเวียน

Read more

ข้าวโพดเลี้ยงสัตว์พันธุ์ผสมเปิด สุวรรณ 3

ประวัติการพัฒนาพันธุ์ พ.ศ. 2520  โครงการปรับปรุงพันธุ์ข้าวโพดของมหาวิทยาลัยเกษตรศาสตร์ได้นำพันธุ์ข้าวโพดจากเขตกึ่งร้อน (sub-tropical) และเขตอบอุ่น (temperate) เข้ามาผสมกับพันธุ์สุวรรณ 1 รอบคัดเลือกที่ 4 (Suwan 1(S)C4) พ.ศ. 2521-2522  ปลูกแต่ละคู่ผสมในแปลงปราศจากโรคราน้ำค้างและผสมกันระหว่างต้นที่มีลักษณะดีภายในแต่ละคู่ผสมเพื่อให้เกิดการคลุกเคล้าของพันธุกรรมที่ดีจากพ่อแม่เข้าด้วยกัน พ.ศ.2523-2524   สร้างพันธุ์เคซีโดยใช้ 1 โดยใช้หลักเกณฑ์ในการพิจารณาคัดเลือกพ่อ-แม่พันธุ์จากการเลือกคู่ผสมที่ให้ผลผลิตชั่วที่หนึ่งและชั่วที่สองสูงกว่าพันธุ์สุวรรณ 1

Read more

ข้าวโพดเลี้ยงสัตว์พันธุ์ผสมเปิด สุวรรณ 2

  ข้าวโพดพันธุ์สุวรรณ 2 เป็นพันธุ์ที่มีบรรพบุรุษร่วมกันกับพันธุ์สุวรรณ 1 คือ พันธุ์ไทยคอมพอสิตเบอร์ 1 (Thai Composite # 1 ) เป็นพันธุ์ที่มีอายุเก็บเกี่ยวสั้น ต้านทานต่อโรคราน้ำค้างได้ดี  ประวัติการพัฒนาพันธุ์ พ.ศ. 2513  เริ่มในเดือนเมษายน โครงการปรับปรุงพันธุ์ข้าวโพดของมหาวิทยาลัย

Read more

ข้าวโพดเลี้ยงสัตว์พันธุ์ผสมเปิดสุวรรณ 1

                                         

Read more

ข้าวโพด : พัฒนาการด้านงานวิจัยข้าวโพดของประเทศไทย

พ.ศ.2493 องค์การบริหารความร่วมมือระหว่างประเทศ ของสหรัฐอเมริกาเริ่มให้ความช่วยเหลือทางเศรษฐกิจและวิชาการแก่ประเทศไทยและได้เริ่มงานการปรับปรุงพันธุ์พืชไร่หลายชนิดรวมทั้งข้าวโพด โดยมีการนำพันธุ์ข้าวโพดจากหลายประเทศมาทดสอบในหลายจังหวัด พ.ศ.2494 MR. Howard Ream ที่ปรึกษาขององค์การความร่วมมือระหว่างประเทศ ได้สรุปผลการทดสอบข้าวโพด และแนะนำให้ใช้พันธุ์ประเภทผสมเปิด (open-pollinated variety) เป็นพันธุ์ส่งเสริม พ.ศ.2496 MR. Howard Ream นำข้าวโพดพันธุ์ ทิ

Read more

ข้าวโพด : ผลิตผล ผลิตภัณฑ์และการใช้ประโยชน์

ข้าวโพดเป็นพืชที่นำมาใช้ประโยชน์ได้แทบทุกส่วน ใช้เป็นอาหารมนุษย์ ในประเทศไทย ประชาชนนิยมรับประทานฝักสดของข้าวโพดหวาน ข้าวโพดข้าวเหนียว โดยการต้มหรือเผาให้สุกเสียก่อน นอกจากนั้น ฝักอ่อนของข้าวโพดยังนิยมรับประทานกันอย่างแพร่หลายนับเป็นผักชนิดหนึ่งที่นำมาปรุงอาหาร ประชาชนในบางประเทศ อาศัยบริโภคข้าวโพดเป็นอาหารหลักในรูปต่าง ๆ กัน เช่น ในอเมริกากลางและอเมริกาใต้ ใช้แป้งบดจากเมล็ดแก่มาทำเป็นแผ่นนึ่งหรือย่างให้สุก รับประทานกับอาหารอื่นคล้ายกับการรับประทานขนมปัง ในฟิลิปปินส์นิยมตำเมล็ดข้าวโพดแก่ให้แตกเป็นชิ้นเล็กเท่า ๆ เมล็ดข้าว แล้วต้มรับประทานแทนข้าว

Read more

ข้าวโพด : แหล่งปลูก

  ข้าวโพดสามารถปลูกได้อย่างกว้างขวางทั่วโลก  ตั้งแต่ละติจูดที่ 58 องศา ในประเทศแคนนาดา  ผ่านเขตโซนร้อนลงมาจนถึงเขตตอนใต้ประมาณละติจูดที่  35-40 องศา ข้าวโพดสามารถเจริญเติบโตได้ดีบนพื้นที่  ซึ่งมีระดับเดียวกับน้ำทะเลไปจนถึงพื้นที่ระดับสูงกว่าน้ำทะเล 3,000-3,900 เมตรในประเทศเปรูและเม็กซิโก  แหล่งผลิตข้าวโพดที่สำคัญคือ ประเทศสหรัฐอเมริกา เป็นประเทศที่ปลูกและผลิตข้าวโพดได้มากที่สุดของโลก รองลงมาคือ สาธารณรัฐประชาชนจีน บราซิล สหภาพยุโรป  อาร์เจนติน่า

Read more

ข้าวโพด : ความสำคัญทางเศรษฐกิจของข้าวโพด

ข้าวโพด เป็นธัญพืชเศรษฐกิจที่สำคัญที่ใช้เป็นอาหารของมนุษย์และสัตว์  โดยเฉพาะอย่างยิ่งข้าวโพดเลี้ยงสัตว์เป็นวัตถุดิบหลักในอุตสาหกรรมการผลิตอาหารสัตว์  ความต้องการใช้ข้าวโพดเลี้ยงสัตว์ทั้งตลาดในประเทศ และตลาดต่างประเทศมีแนวโน้มเพิ่มสูงขึ้นอย่างต่อเนื่อง สถานการณ์การผลิตข้าวโพดของโลก การผลิต ปี 2550/51-2554/55 มีแนวโน้มเพิ่มขึ้นจาก 794.20 ล้านตันในปี 2550/51 เป็น 877.75 ล้านตันในปี 2554/55 หรือเพิ่มขึ้นร้อยละ 2.41 ต่อปี

Read more

งานวิจัยการปรับปรุงพันธุ์ข้าวโพด มหาวิทยาลัยเกษตรศาสตร์

ข้าวโพด ชื่อสามัญ Maize, Corn ชื่อท้องถิ่น ข้าวสาลี (เหนือ) , คง (กระบี่), โพด (ใต้), บือเคส่ะ (กระเหรี่ยง-แม่ฮ่องสอน) ชื่อวิทยาศาสตร์ Zea mays   L. Class Angiospermae

Read more