ข้าวโพดสีม่วงของมหาวิทยาลัยเกษตรศาสตร์

โดย​​ ดร.โชคชัย เอกทัศนาวรรณ
ศูนย์วิจัยข้าวโพดและข้าวฟ่างแห่งชาติ
คณะเกษตร

Read more

ข้าวโพดสีม่วงของ ม.เกษตร

ข้าวโพดสีม่วงจากต่างประเทศไม่สามารถปรับตัวได้ในสภาพแวดล้อมของประเทศไทย ในปี พ.ศ. 2534 ด้วยเหตุนี้ ทีมวิจัยนักพัฒนาพันธุ์ โครงการปรับปรุงพันธุ์ข้าวโพดสีม่วงของมหาวิทยาลัยเกษตรศาสตร์ นำโดย ดร.โชคชัย เอกทัศนาวรรณ ดร.สรรเสริญ จำปาทอง นางชไมพร เอกทัศนาวรรณ นายนพพงศ์ จุลจอหอ และ นายฉัตรพงศ์ บาลลา จาก ศูนย์วิจัยข้าวโพดและข้าวฟ่างแห่งชาติ คณะเกษตร มหาวิทยาลัยเกษตรศาสตร์ ได้นำพันธุ์ข้าวโพดสีม่วงจากประเทศเปรูมาผสมกับพันธุ์ข้าวโพดเลี้ยงสัตว์ที่ดีเด่นของมหาวิทยาลัยเกษตรศาสตร์ พันธุ์สุวรรณ 3 (S) C4 (ME)C1 และสายพันธุ์แท้ KS 23-F5-S5-705-1)

Read more

จากซังข้าวโพดสีม่วง สู่ผลิตภัณฑ์บำรุงผิว

เนื่องจากซังข้าวโพดสีม่วง KPSC 903 มีคุณสมบัติที่ดีของการเป็นแหล่งของสารต้านอนุมูลอิสระ ดร.อุดมลักษณ์ สุขอัตตะ จึงได้ทำการวิจัยต่อยอดในการพัฒนาเป็นผงสารสกัดแอนโทไซยานินจากซังข้าวโพด และนำมาพัฒนาเป็นสารต้านอนุมูลอิสระ เพื่อใช้เป็นวัตถุดิบในการผลิตเครื่องสำอางเพื่อสุขภาพผิวในกลุ่มผลิตภัณฑ์บำรุงผิวหน้า เนื่องจากมีคุณสมบัติที่ดีต่อผิว มีความปลอดภัยต่อผู้บริโภค และยังเป็นการเพิ่มมูลค่าให้แก่ซังข้าวโพดลูกผสมแอนโทไซยานินสูงพันธุ์ KPSC 903 ที่เป็นผลผลิตจากงานวิจัยของมหาวิทยาลัยเกษตรศาสตร์

Read more

KPSC 903 : ข้าวโพดสีม่วงแอนโทไซยานินสูงของ ม.เกษตร

ในปี พ.ศ.2534 โครงการปรับปรุงพันธ์ข้าวโพดสีม่วง นำโดย ดร. โชคชัย เอกทัศนาวรรณ ดร.สรรเสริญ จำปาทอง ชไมพร เอกทัศนาวรรณ นพพงศ์ จุลจอหอ และฉัตรพงศ์ บาลลา จากศูนย์วิจัยข้าวโพดข้าวฟ่างแห่งชาติ คณะเกษตร มหาวิทยาลัยเกษตรศาสตร์ ได้นำพันธุ์ข้าวโพดสีม่วงเปรู มาผสมกับพันธุ์ข้าวโพดเลี้ยงสัตว์ที่ดีเด่น พันธุ์ Suwan 3(S)C4 (ME)C1 ของมหาวิทยาลัยเกษตรศาสตร์ และสายพันธุ์แท้ KS 23-F5S5-705-1 และมีการผสมกลับ 1 ครั้งในชั่ว F2 ในแต่ละกลุ่ม โดยใช้ข้าวโพดเลี้ยงสัตว์เป็นพ่อ

Read more