วัสดุปลูก โดย ผศ.ดร.ณัฏฐ พิชกรรม

วัสดุปลูกต้นไม้ทั่วไปเพื่อทดแทนดินผสม แต่ควรให้ปุ๋ยละลายน้ำร่วมกับการรดน้ำปกติ หรือนำวัสดุปลูกไปผสมกับดินตามสัดส่วนที่เหมาะสม เพื่อเพิ่มความโปร่งของดิน และลดการอัดตัวแน่นของดินได้ ราคาถูก แข็งแรง น้ำหนักเบา การยุบตัวน้อย เก็บกัดความชื้นได้ ติดต่อได้ที่ ผศ.ดร.ณัฏฐ พิชกรรม ภาควิชาพืชสวน คณะเกษตร มหาวิทยาลัยเกษตรศาสตร์ โทร. 0-2579-0308

Read more

รายการวิทยุ เรื่อง ปุ๋ยกับการเกษตรและสิ่งแวดล้อม ตอนที่ 1/อำนาจ สุวรรณฤทธิ์

เป็นผลงานของศาสตราจารย์เกียรติคุณ ดร.อำนาจ สุวรรณฤทธิ์ ภาควิชาปฐพีวิทยา คณะเกษตร มหาวิทยาลัยเกษตรศาสตร์ บางเขน ค้นคว้ารวบรวมข้อมูลผลการวิจัยในเรื่อง “ปุ๋ยกับการเกษตรและสิ่งแวดล้อม” มีเนื้อหาย่อยที่น่าสนใจ คือชนิดและสมบัติปุ๋ย หลักการพิจารณาการใช้ปุ๋ย ประสิทธิภาพของปุ๋ยแต่ละชนิด การเกิดปัญหาสิ่งแวดล้อมจากการใช้ปุ๋ย ข้อดีข้อด้อย และข้อควรระวังเกี่ยวกับการใช้ปุ๋ยของแต่ละชนิดในแง่การเกษตรและในแง่ของสิ่งแวดล้อม

Read more

รายการวิทยุ เรื่อง ประโยชน์ของการปลูกแฝกและการใช้ใบแฝกคลุมดินเพื่อปรับปรุงสภาพดิน

หญ้าแฝกเป็นพืชใบเลี้ยงเดี่ยวตระกูลหญ้า มีกระจายทั่วโลกอยู่ 12 ชนิด และประเทศไทยมี 2 ชนิด มาฟังกันว่าประโยชน์ของหญ้ามีอะไรกันบ้าง

Read more

ไส้เดือนดินไทเกอร์ (โฆษณาประชาสัมพันธ์)

ไส้เดือนดินไทเกอร์ สายพันธุ์มหา­วิทยาลัยเกษตรศาสตร์ เป็นไส้เดือนที่เลี้ยงง่าย กินเก่ง และที่สำคัญทนกับสภาพอากาศร้อนแ­ละหนาวได้สูง สามารถกำจัดขยะอินทรีย์และผลิตม­ูลได้มากเจริญเติบโตเร็ว และให้ลูกมาก สภาพอุณหภูมิที่เหมาะสมคือ 25-30 องศาเซลเซียส ทนความหนาวได้ถึง 0 องศาเซลเซียล และทนความร้อนได้ถึง 40 องศาเซลเซียล ติดต่อได้ที่ รศ.ดร.สมชัย จันทร์สว่าง ภาควิชาสัตวบาล คณะเกษตร มหาวิทยาลัยเกษตรศาสตร์ โทร.08-1867-0907

Read more

ไส้เดือนดินไทเกอร์ สายพันธุ์มหาวิทยาลัยเกษตรศาสตร์ โดย รศ.ดร.สมชัย จันทร์สว่าง

ไส้เดือนดินไทเกอร์สายพันธุ์มหาวิทยาลัยเกษตรศาสตร์ เป็นไส้เดือนที่เลี้ยงง่าย กินเก่ง และที่สำคัญทนกับสภาพอากาศร้อนและหนาวได้สูง สามารถกำจัดขยะอินทรีย์และผลิตมูลได้มากเจริญเติบโตเร็ว และให้ลูกมาก ติดต่อได้ที่ รศ.ดร.สมชัย จันทร์สว่าง ภาควิชาสัตวบาล คณะเกษตร มหาวิทยาลัยเกษตรศาสตร์ โทร.08-1867-0907

Read more

ชุดตรวจสอบปริมาณอินทรียวัตถุในดินภาคสนาม ของมหาวิทยาลัยเกษตรศาสตร์ (Soil Organic Matter Test Kit)

นักวิจัยมหาวิทยาลัยเกษตรศาสตร์ พัฒนาชุดตรวจสอบปริมาณอินทรียวัตถุเพื่อประเมินปริมาณอินทรียวัตถุในดิน สำหรับใช้ในภาคสนาม สามารถทราบผลการตรวจสอบได้อย่างรวดเร็ว แม่นยำ ช่วยประหยัดเวลา และลดต้นทุนการผลิตของเกษตรกรจากการใส่ปุ๋ยที่เกินพอดี

Read more