ต้นแบบรถขุดย้ายต้นไม้ใหญ่

รศ.ดร.ศุภกิตต์ สายสุนทร
ภาควิชาเกษตรกลวิธาน คณะเกษตร
มหาวิทยาลัยเกษตรศาสตร์ โทร.0-2561-3482

Read more

เมล็ดเทียม (artificial seed) ต้านเชื้อจุลินทรีย์

ผศ.ดร สุนทรี แสงจันทร์ และอาจารย์ ดร.ปิยะมาศ ศรีรัตน์
ภาควิชาวิทยาศาสตร์ คณะศิลปศาสตร์และวิทยาศาสตร์
มหาวิทยาลัยเกษตรศาสตร์ วิทยาเขตกำแพงแสน

Read more

การปลูกปักษาสวรรค์ ไม้ประดับเพื่อเพิ่มมูลค่า

วีระยุทธ แสนยากุล
สถานีวิจัยเพชรบูรณ์ คณะเกษตร
มหาวิทยาลัยเกษตรศาสตร์ โทร.08-4368-5417

Read more

ผลิตภัณฑ์ AWAKEN Citrus Sparking Coffee กาแฟผสมน้ำผลไม้และโซดา

ดร. สิชญา สิทธิพจน์
ภาควิชาวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยีการอาหาร
คณะอุตสาหกรรมเกษตร มหาวิทยาลัยเกษตรศาสตร์ 
โทร. 0-2562-5020

Read more

เครื่องวิเคราะห์ คุณภาพน้ำอ้อยในไร่ เพื่อการซื้อขายเชิงพาณิชย์

รศ.ดร.รณฤทธิ์ ฤทธิรณภาควิชาวิศวกรรมการอาหาร คณะวิศวกรรมศาสตร์  กำแพงแสนมหาวิทยาลัยเกษตรศาสตร์  วิทยาเขตกำแพงแสนโทรศัพท์ 08-5917-1017

Read more

วัคซีนต่อต้านเห็บโค KU-VAC

ประเทศไทยเป็นประเทศหนึ่งที่ได้รับผลกระทบจากเห็บโค ที่มีกระจายตัวอยู่ทุกภูมิภาคของประเทศ เนื่องจากเป็นประเทศที่อยู่ในเขตร้อนมีสภาพแวดล้อม ที่เหมาะสมต่อการเจริญเติบโตและแพร่ขยายพันธุ์ของเห็บ ซึ่งปัญหานี้ มีมาเป็นเวลานาน ซึ่งวิธีเดียวที่นำมาใช้ควบคุมเห็บ คือ การใช้สารเคมี (Acaricides) เมื่อใช้ไประยะเวลาหนึ่ง เห็บโคจะปรับตัวได้และเกิดการดื้อต่อยา ยาที่ต้องคิดค้นขึ้นใหม่จึงมีราคาแพงไม่เหมาะกับเกษตรกรในประเทศที่กำลังพัฒนา มหาวิทยาลัยเกษตรศาสตร์จึงได้คิดค้นพัฒนาวัคซีนต่อต้านเห็บโค KU-VAC ซึ่งเป็นทางเลือกใหม่ให้เกษตรกร สามารถป้องกันสัตว์จากเห็บได้นานกว่าสารเคมี วัคซีนนี้ไม่มีอันตรายต่อตัวสัตว์ ไม่มีสารตกค้างในตัวสัตว์และผลิตภัณฑ์จากสัตว์ ตลอดจนไม่มีผลกระทบต่อสภาพแวดล้อม รวมทั้งไม่เกิดอันตรายต่อผู้ใช้ ช่วยลดต้นทุนและเพิ่มผลกำไรให้กับเกษตรกร สอบถามได้ที่ ศ.น.สพ.ดร.สถาพร จิตตปาลพงศ์ คณะเทคนิคการสัตวแพทย์ มหาวิทยาลัยเกษตรศาสตร์ โทร.0-2942-8438 ,08-9923-4563

Read more

เครื่องสแกนมะพร้าวน้ำหอม ด้วยระบบ Near Infrared (NIR)

เครื่องสแกนมะพร้าวน้ำหอม ด้วยระบบ Near Infrared (NIR) โดยการใช้เทคนิคที่รวดเร็ว แม่นยำ และไม่ทำลายผลผลิต ซึ่งเครื่องนี้สามารถวิเคราะห์จำนวนชั้นเนื้อของมะพร้าวอ่อน และช่วยลดความเสี่ยงในการส่งออกมะพร้าวที่มีชั้นเนื้อไม่ได้ตามเกณฑ์ไปยังผู้บริโภค อีกทั้งยังช่วยลดความสูญเสียจากการแตกของมะพร้าวในระหว่างการขนส่ง ซึ่งเกิดจากการส่งออกมะพร้าวที่อ่อนเกินไป นอกจากนี้ยังเป็นการเพิ่มมูลค่าของมะพร้าวที่มีชั้นเนื้อเหมาะสม และลด/กำจัดการปฎิเสธสินค้าที่ต่ำกว่ามาตรฐานของผู้ประกอบการได้อีกด้วย สอบถามได้ที่ ผศ.ดร.รณฤทธิ์ ฤทธิรณ ห้องปฏิบัติการ Near Infrared ภาควิชาวิศวกรรมการอาหาร คณะวิศวกรรมศาสตร์ กำแพงแสน มหาวิทยาลัยเกษตรศาสตร์ โทร. 085-9171017

Read more