ถุงมือยางธรรมชาติป้องกันรังสีเอกซ์ปราศจากสารตะกั่ว

รศ.ดร.เกียรติศักดิ์ แสนบุญเรือง
ภาควิชารังสีประยุกต์และไอโซโทป คณะวิทยาศาสตร์
มหาวิทยาลัยเกษตรศาสตร์
โทร. 0-2562-5444 E-mail: fscikssa@ku.ac.th

Read more

วช. ประกาศผลการพิจารณารางวัลการวิจัยแห่งชาติ ประจำปีงบประมาณ 2564

ตามที่ สำนักงานการวิจัยแห่งชาติ (วช.) ได้มีประกาศเชิญชวนให้ผู้สนใจเสนอผลงานเพื่อขอรับรางวัลการวิจัยแห่งชาติ : รางวัลนักวิจัยดีเด่นแห่งชาติ รางวัลผลงานวิจัย รางวัลวิทยานิพนธ์ และรางวัลผลงานประดิษฐ์คิดค้น ประจำปีงบประมาณ 2564 ผ่านระบบข้อมูลสารสนเทศวิจัยและนวัตกรรมแห่งชาติ เมื่อสิ้นสุดระยะเวลาการเสนอผลงานฯ ปรากฎมีผู้สนใจเสนอผลงานเพื่อขอรับรางวัลการวิจัยแห่งชาติฯ รวมจำนวนทั้งสิ้น 550 ผลงาน นั้น ในการนี้ วช.

Read more

ถุงมือยางกำบังรังสีเอ็กซ์

ผลิตภัณฑ์ถุงมือยางสำหรับการป้องกันรังสีเอ็กซ์และรังสีแกมมาสำหรับบุคลากรทางการแพทย์ เป็นผลิตภัณฑ์ที่ช่วยเพิ่มมูลค่าของน้ำยางธรรมชาติ ซึ่งเป็นสินค้าทางการเกษตรที่ผลิตขึ้นได้ในประเทศไทย จึงช่วยส่งเสริมให้เกษตรกรหรือผู้ประกอบการอุตสาหกรรมเกี่ยวกับน้ำยางธรรมชาติสามารถเพิ่มมูลค่าผลิตภัณฑ์ และมีผลิตภัณฑ์ใหม่ที่มีความสำคัญ สามารถผลิตในประเทศและจัดจำหน่ายได้ในประเทศและต่างประเทศได้ สอบถามได้ที่ผศ.ดร.เกียรติศักดิ์ แสนบุญเรือง และนายอัครพล ทุมวงศ์ ภาควิชารังสีประยุกต์และไอโซโทป คณะวิทยาศาสตร์ มหาวิทยาลัยเกษตรศาสตร์ โทร. 09-1738-7152

Read more

วัสดุกำบังรังสีจากยางที่ปราศจากสารตะกั่ว

ผศ.ดร.เกียรติศักดิ์ แสนบุญเรือง ร่วมกับรศ.เอกชัย วิมลมาลา และนายวรวัฒน์ ผลทับทิม จากภาควิชารังสีประยุกต์และไอโซโทป คณะวิทยาศาสตร์ มหาวิทยาลัยเกษตรศาสตร์ จึงได้คิดค้นพัฒนาวัสดุกำบังรังสีเอ็กซ์และรังสีแกมมาจากวัสดุเชิงประกอบยางธรรมชาติและยางสังเคราะห์ ที่ไม่ใช้สารตะกั่วเป็นสารตัวเติม เพื่อให้ได้วัสดุป้องกันรังสีเอ็กซ์และรังสีแกมมาที่มีประสิทธิภาพ มีคุณสมบัติเด่นด้านความยืดหยุ่น โค้งงอได้ดี มีความทนทาน และมีประสิทธิภาพในการป้องกันรังสีได้ดี อีกทั้งสามารถลดความเสี่ยงต่อการรับสารตะกั่วที่เป็นพิษต่อร่างกาย

Read more

หัววัดนิวตรอนแบบใหม่ ฝีมือคนไทย

ผศ.ดร.เกียรติศักดิ์ แสนบุญเรือง จากภาควิชารังสีประยุกต์และไอโซโทป คณะวิทยาศาสตร์ มหาวิทยาลัยเกษตรศาสตร์ และศ.ดร.ถิรพัฒน์ วิลัยทอง จากศูนย์ความเป็นเลิศด้านฟิสิกส์ มหาวิทยาลัยเชียงใหม่ จึงได้ทำการศึกษาความเป็นไปได้ในการนำหัววัดอนุภาคทางรังสี (Gas Electron Multiplier ; GEM) มาประยุกต์ใช้ในการวัดอนุภาคนิวตรอนแทนการใช้หัววัดชนิดเดิมที่ใช้ ฮีเลียม-3 เป็นองค์ประกอบหลัก เพื่อหาวัสดุที่มีราคาถูกว่าฮีเลียม-3 มาใช้เป็นเครื่องมือในการตรวจหาวัตถุอันตรายที่สามารถนำมาใช้ในการผลิตอาวุธนิวเคลียร์ได้

Read more