การเตรียมโครงเลี้ยงเซลล์ด้วยรีเจเนอเรเท็ดเซลลูโลสจากชานอ้อย

รศ.ดร.ประกิต สุขใย และคณะ
ภาควิชาเทคโนโลยีชีวภาพ คณะอุตสาหกรรมเกษตร
มหาวิทยาลัยเกษตรศาสตร์
โทร. 02-562-5000 ต่อ 5341 E-mail: prakit.s@ku.ac.th

Read more

ถ่านกัมมันต์จากชานอ้อย

รศ.ดร.ศิริกาญจนา ทองมี
ภาควิชาฟิสิกส์ คณะวิทยาศาสตร์
มหาวิทยาลัยเกษตรศาสตร์
โทร. 086-999-3234 E-mail: fscisjn@ku.ac.th

Read more

ถ่านกัมมันต์จากชานอ้อย

รศ.ดร.ศิริกาญจนา ทองมี
ภาควิชาฟิสิกส์ คณะวิทยาศาสตร์
มหาวิทยาลัยเกษตรศาสตร์

Read more

ถ่านกัมมันต์จากชานอ้อย

รศ.ดร.ศิริกาญจนา ทองมี
ภาควิชาฟิสิกส์ คณะวิทยาศาสตร์
มหาวิทยาลัยเกษตรศาสตร์

Read more

การลดต้นทุนการพัฒนาถ่านกัมมันต์จากชานอ้อย

ผศ.ดร.ศิริกาญจนา ทองมี อาจารย์ประจำภาควิชาฟิสิกส์ คณะวิทยาศาสตร์ มหาวิทยาลัยเกษตรศาสตร์ จึงได้ทำการศึกษาการเตรียมถ่านกัมมันต์ โดยมุ่งเน้นการใช้วัตถุดิบจากวัสดุชีวมวลซึ่งเป็นเศษเหลือทิ้งจากอุตสาหกรรมที่มีอยู่เป็นจำนวนมากในประเทศไทย ได้แก่ ชานอ้อย ซึ่งเป็นวัสดุเหลือทิ้งจากโรงงานอุตสาหกรรมการผลิตน้ำตาล ศึกษาการใช้กระบวนการผลิตถ่านกัมมันต์ทางกายภาพด้วยการใช้ไอน้ำ เพื่อลดต้นทุนในการผลิตสำหรับภาคอุตสาหกรรม ศึกษาหาสภาวะอุณหภูมิและเทคนิคการเร่งปฏิกิริยาที่เหมาะสมเพื่อการผลิตถ่านกัมมันต์จากชานอ้อย

Read more

การผลิตถ่านกัมมันต์จากชานอ้อย

การผลิตถ่านกัมมันต์จากชานอ้อย เพื่อสิ่งแวดล้อม เป็นนวัตกรรมใหม่ เพื่อใช้ในการบำบัดหรือกำจัดมลสารที่ปนเปื้อนอยู่ในน้ำเสีย โดยอาศัยการดูดซับ ซึ่งถ่านกัมมันต์มีความสามารถในการดูดซับสูง เนื่องจากมีพื้นผิวมาก มีความจุในการดูดซับสูง สามารถดููดซับโลหะชนิดต่าง ๆ ได้หากนำไปใช้ในภาคอุตสาหกรรม ก็จะช่วยในการลดปริมาณโลหะหนัก และลดปริมาณน้ำเสีย ก่อนทิ้ง ถ่านกัมมันต์ยังสามารถใช้ในการดูดสีและดูดกลิ่น ซึ่งงานวิจัยนี้ ใช้วิธีทางกายภาพ โดยใช้ไอน้ำ ต้นทุนในการผลิตอยู่ที่ราคาประมาณ 20 บาท/กิโลกรม สอบถามได้ที่ ผศ.ดร.ศิริกาญจนา ทองมี ภาควิชาฟิสิกส์ คณะวิทยาศาสตร์ มหาวิทยาลัยเกษตรศาสตร์ โทร.0-2942-8025

Read more

วันเกษตรแห่งชาติ ประจำปี 2561

วันเกษตรแห่งชาติ ประจำปี 2561 จัดขึ้นทุกๆ 4 ปี โดยปีนี้จัดขึ้นภายใต้แนวคิด “ร่วมกันก้าวไป เกษตรไทย 4.0” โดยรายการเกษตรศาสตร์นำไทย ขอนำเสนอผลงานวิจัยที่จัดแสดง ณ อาคารจักรพันธ์เพ็ญศิริ จำนวน 5 ผลงาน โดยมีผลงานดังนี้ 1. การใช้เชื้อรากำจัดผักตบชวา 2.ผลิตภัณฑ์เสริมอาหารจากน้ำมันจระเข้กระชายดำ 3.เทคนิคการบรรจุหมึกหอมที่มีชีวิตเพื่อการขนส่ง 4.การผลิตถ่านกัมมันต์ จากชานอ้อยเพื่อสิ่งแวดล้อม 5.เอนไซม์ขอดเกล็ดปลา

Read more

ใช้ประโยชน์ชานอ้อยผลิตแก๊สมีเทนโดยวิธีการหมักแบบสองขั้นตอน

เพื่อใช้ประโยชน์ชานอ้อยเป็นเชื้อเพลิงที่มีประสิทธิภาพ ผศ.ดร.ประไพพิศ ชัยรัตนมโนกร อาจารย์ประจำภาควิชาเทคโนโลยีและการจัดการสิ่งแวดล้อม คณะสิ่งแวดล้อม มหาวิทยาลัยเกษตรสาสตร์ จึงได้ศึกษาหาแนวทางใช้ประโยชน์ชานอ้อยเป็นวัตถุดิบในการผลิตแก๊สมีเทนอย่างต่อเนื่องโดยวิธีการหมักแบบสองขั้นตอน โดยในขั้นต้นเป็นการผลิตแก๊สไฮโดรเจน และขั้นตอนที่สองจึงได้แก๊สมีเทน สุดท้ายผลิตมีเธน

Read more

การผลิตไซลิทอลจากวัสดุเหลือทิ้งการเกษตร

ไซลิทอลเป็นน้ำตาลแอลกอฮอล์ที่มีความหวานใกล้เคียงกับน้ำตาลทราย แต่ไม่ทำให้ฟันผุเพราะไม่ส่งเสริมการเจริญของจุลินทรีย์ในช่องปาก ดูดซึมในร่างกายได้ช้า และการใช้ไซลิทอลในร่างกายไม่ขึ้นกับสารอินซูลิน จึงไม่มีผลต่อการเพิ่มปริมาณน้ำตาลในเลือด ผู้ป่วยโรคเบาหวานจึงสามารถบริโภคไซลิทอลได้

Read more